ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสืออิเล็กทรอนิกส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: az:Elektron kitab (sənəd)
Modernkoro (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''หนังสืออิเล็กทรอนิกส์''' ({{lang-en|E-book}}) เป็นหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book reader) ได้
{{ไม่เป็นสารานุกรม}}

'''หนังสืออิเล็กทรอนิกส์''' ({{lang-en|E-book}} คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แต่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีคำขยายความต่อท้ายว่า หนังสือที่เก็บอยู่ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ หรือเก็บไว้อยู่ในแบบของไฟล์ โปรแกรมส่วนมากที่เข้าใจกันคือ หนังสือที่เก็บในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ต้องใช้กระดาษ และมีการสร้างจากคอมพิวเตอร์ และสามารถอ่านได้จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่าง [[คอมพิวเตอร์]] [[คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก|โน้ตบุ๊ก]] [[พีดีเอ]] (Personal Digital Assistant) Palm และ PocketPC หรือกระทั่งอ่านได้จาก[[โทรศัพท์มือถือ]]บางรุ่น

E-book เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่จะเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ด้วยความสะดวกสบายของทั้งการสร้าง E-book ความสะดวกในการพกพา ขนาดที่เล็ก และสามารถอ่านได้ทุกที่ทุกเวลาที่มีอุปกรณ์พกพาที่สามารถอ่าน E-book ได้ สามารถสร้างให้ E-book นอกจากจะมีสีสันสวยงามเพื่อง่ายต่อการอ่าน และทำความเข้าใจแล้ว ยังสามารถใส่เสียง ภาพเคลื่อนไหว สร้างสารบัญ (Link) หรือการคลิกเพื่อส่ง E-Mail ไปยังผู้เขียน หรือ E-Mail ใน E-book ก็ได้


==วิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์==
==วิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์==


แนวความคิดเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นภายหลัง ปี ค.ศ.1940 โดยปรากฏในนวนิยายวิทยาศาสตร์ ต่อมาได้มีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสแกน (Scan) หนังสือจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มภาพตัวหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนำแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่าน กระบวนการแปลงภาพเป็นข้อความ (Text) ด้วยการทำ OCR (Optical Character Recognition) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นข้อความที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ การถ่ายทอดข้อมูลจะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ดังนั้นหน้ากระดาษจึงเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูลแทน ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (Documents printing) ทำให้รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรก ๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล์ เมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่าง ๆ จึงถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยปรากฏในแต่ละหน้าของเว็บไซต์ซึ่งเรียกว่า "web page" ผู้อ่านสามารถเปิดดูเอกสารเหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
แนวความคิดเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นภายหลัง ปี ค.ศ. 1940 โดยปรากฏในนวนิยายวิทยาศาสตร์ ต่อมาได้มีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสแกนหนังสือจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มภาพตัวหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนำแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่าน กระบวนการแปลงภาพเป็นข้อความด้วยการทำ OCR (Optical Character Recognition) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นข้อความที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ การถ่ายทอดข้อมูลจะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ดังนั้นหน้ากระดาษจึงเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูลแทน ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (Documents printing) ทำให้รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรก ๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc .txt .rtf และ .pdf ไฟล์ เมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่าง ๆ จึงถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยปรากฏในแต่ละหน้าของเว็บไซต์ซึ่งเรียกว่า "web page" ผู้อ่านสามารถเปิดดูเอกสารเหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัท ไมโครซอฟท์ (Microsoft) ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้คำแนะนำในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .CHM โดยมีตัวอ่านคือ Microsoft Reader และหลังจากนั้นมีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไป กล่าวคือ สามารถแทรกข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงเอกสาร (Hypertext) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกได้ อีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้ คุณสมบัติเหล่านี้ไม่สามารถทำได้ในหนังสือทั่วไป

== รูปแบบของไฟล์ E-book ==

E-book เป็นไฟล์ที่สร้างจากคอมพิวเตอร์ แต่คำนิยามของ E-book ไม่ได้แสดงถึงคำจำกัดความที่ลงลึกไปถึงรายละเอียดว่าสร้างจากโปรแกรมอะไร ต้องมีรูปแบบไฟล์แบบไหน ทำให้ไม่มีมาตรฐานที่ชัดเจน เพราะมันคือหนังสือที่เก็บอยู่ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างได้จากโปรแกรมอะไรก็ได้ที่เก็บอยู่ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

เนื่องจาก E-book จะมีลักษณะเป็นไฟล์ที่เก็บในคอมพิวเตอร์ จึงไม่แปลกที่จะมี format หรือไฟล์รูปแบบนามสกุลต่างๆ ที่เป็น e-book ได้แก่ ไฟล์นามสกุล PDF, RTF, XML หรือกระทั่งไฟล์ HTML ที่เป็นไฟล์เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต หรือไฟล์คู่มือในแผ่นซีดีรอมไดร์เวอร์ และอีกประเภทหนึ่งที่เห็นกันบ่อยคือ ไฟล์ HTML หรือไฟล์เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ตนั่นเอง

แต่ไฟล์ที่นิยมใช้กันมากๆ เป็นไฟล์ประเภท [[PDF]] และ [[HTML]] เพราะนอกจากจะมีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ไฟล์ทั้งสองประเภทมีคุณสมบัติที่เด่นๆ ที่สามารถทำได้มากกว่าไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น การสร้างสารบัญ การใส่ไฟล์รูปภาพ เสียง หรือวีดีโอ ดังนั้นในบทความนี้จึงจะนำเสนอการสร้าง e-book ในรูปแบบของไฟล์ทั้งสองประเภท (แต่จะพบว่าในการขายหนังสือไฟล์ e-book ในอินเทอร์เน็ตหรือทั่วๆ ไปจะนิยมใช้ PDF มากกว่า เพราะสามารถสร้างได้ง่ายกว่า สามารถใส่ password และป้องกันการก็อปปี๊ได้ดีกว่า)

== ทำไมไม่ใช้ไมโครซอฟท์ เวิร์ด ==

หากนำไฟล์[[ไมโครซอฟท์ เวิร์ด]]ไปใช้เป็น E-book โดยตรงนั้นก็สามารถทำได้ แต่ไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากไฟล์เวิร์ดนั้นมีจุดอ่อนในการทำ E-book หลายเรื่อง แม้ว่าจะสามารถใส่รหัสผ่านให้กับไฟล์ได้ สามารถส่งไฟล์ให้อ่านได้ สามารถแก้ไขได้ สามารถบังคับไม่ให้บันทึกทับได้ (สร้างไฟล์ในแบบ Template) แต่นั่นยังไม่เพียงพอ และยังมีจุดอ่อนอื่นที่ทำให้ไฟล์เวิร์ดไม่เหมาะเป็น E-book อีก เช่น ไฟล์เวิร์ดไม่สามารถอ่านได้จากเครื่องเล่นต่างๆ อย่างแพร่หลาย ต่างจาก PDF และ HTML ไฟล์เวิร์ดมีความแตกต่างภายในของแต่ละเวอร์ชัน เพราะมีคุณสมบัติที่พัฒนาเพิ่มแตกต่างกัน ทำให้เมื่อเปิดต่างเวอร์ชันจะเกิดปัญหาต่างๆ เช่น ตัวอักษรมีความผิดปกติ เช่นไม่มีฟอนต์ที่โปรแกรมเวิร์ดบันทึกมาในต้นฉบับ หรือแม้ว่ามีฟอนต์แต่การเปิดกับเครื่องต่างกัน เวอร์ชันต่างกัน ทำให้ย่อหน้าเพี้ยน ตัวหนังสือผิดไป เป็นต้น และการเข้าไปแก้ไขหรือก๊อปปี๊ได้โดยง่ายนั้นเป็นคุณสมบัติที่ไม่เหมาะต่อการเป็น E-book ในปัจจุบันนิยมใช้โปรแกรมสำหรับแปลงไฟล์เอกสารต่าง ๆ เป็นไฟล์ PDF ก่อนนำออกเผยแพร่เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

== PDF กับ HTML แบบใดดีกว่ากัน ==

PDF กับ HTML แบบใดดีกว่ากัน หากเป็น E-book แท้ๆ PDF จะมีคุณสมบัติของหนังสือมากกว่า เนื่องจาก E-book ที่สร้างในแบบ PDF นั้น จะไม่มีอาการเลื่อนของหน้าต่าง คือ ไฟล์ E-book จะถูกกำหนดมาชัดเจน เป็นลักษณะแผ่นๆคล้ายกระดาษ ผู้สร้าง E-book สามารถกำหนดได้ว่าต้องการให้แต่ละหน้าของ E-book มีขนาดเท่าใด เช่น A4, A3, Letter หรือจะกำหนดเป็นความละเอียดหน้าจอเพื่อใช้ในการนำเสนองานได้ ด้าน HTML จะเน้นการสร้าง E-book เพื่ออ่านในอินเทอร์เน็ตมากกว่า โดยหน้าต่างการแสดงผลส่วนมากจะกำหนดเป็นความละเอียดหน้าจอ เช่น 1024x768 พิกเซล ดังนั้นหากไปเปิดที่คอมพิวเตอร์ที่ใช้ความละเอียดไม่ตรงตามนี้อาจจะมีการเลื่อนไปมาของหน้าต่าง (Scroll) ผู้เขียนบางท่านอาจอนุญาตให้มีการตัดคำได้ ตัวอักษรก็จะตัดคำให้พอหน้าต่างที่แสดงผล เกิดความไม่แน่นอน โดยเฉพาะกรณีที่ไม่มีรูปอยู่ด้วย

ด้านสิทธิ์ในการเข้าไปอ่าน หรือก๊อปปี๊ไฟล์ E-book นั้นการสร้างด้วยลักษณะ PDF นั้นสามารถกำหนดได้ และค่อนข้างง่ายกว่าการป้องกันการเข้าอ่าน และก๊อปปี๊ไฟล์ E-book ที่สร้างในลักษณะ HTML

การเก็บไฟล์ และส่งต่อ PDF นั้นก็มีจุดดีกว่าเพราะเป็นไฟล์เพียงไฟล์เดียว ซึ่งในไฟล์ก็จะบรรจุทุกอย่าง ต่างจาก HTML ที่เวลาเก็บนั้นนอกจากจะมีไฟล์ HTML แล้วยังต้องมีโฟลเดอร์ของไฟล์เพื่อเก็บรูป

ดังนั้นความนิยมการสร้าง E-book จึงเน้นไปใช้ในรูปแบบของ PDF มากกว่า HTML โดยเฉพาะในเชิงการค้า PDF จะถูกนำมาใช้เป็นมาตรฐานมากกว่า

== การอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ==

เครื่องที่อ่านไฟล์ E-book แบบ HTML ได้นั้นต้องเป็นแบบไหน อุปกรณ์ที่อ่าน E-book แบบ HTML ได้นั้น ก็อ่านได้จากเครื่องเล่นที่มี Browser อยู่ในตัวนั่นเอง เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop PC) , โน้ตบุ๊ค (Notebook หรือ Laptop) แท็ปเลท (TabletPC) เพราะคอมพิวเตอร์มี Browser ในตัวอยู่แล้ว นอกจากนี้ยังเป็นอุปกรณ์พวก PDA ทั้ง PocketPC และ Palm เพราะทั้งสองระบบนี้ที่ใช้ Windows Mobile และ Palm นั้นจะมี Browser อยู่ในตัวแล้ว (รวมถึง PDA Phone อย่าง O2 หรือ Palm Xplore M88 ) และอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่กำลังที่กำลังเป็นที่ท็อปฮิตอยู่ในขณะนี้คือ โทรศัพท์มือถือนั่นเอง แต่คงต้องเป็นรุ่นๆไป ส่วนมากโทรศัพท์มือถือที่สามารถอ่านไฟล์ E-book ได้นั่นจะเป็นโทรศัพท์ประเภท SmartPhone หรือโทรศัพท์ที่มีระบบ ปฏิบัติการอย่าง Microsoft Mobile ใน O2 Xphone, Symbian ใน Nokia หรือ Sony-Ericsson (Nokia มีหลายรุ่นมากทั้ง 6600/7610/6670/6630/9500/9300 อีกมากมาย) , Linux อย่าง Motorola E680 ในที่นี้ไม่ต้องผูกติดเฉพาะยี่ห้อที่กล่าวมาแล้วอย่างเดียว เพราะโทรศัพท์ประเภท SmartPhone สามารถอ่าน E-book ได้นั้นเนื่องจาก SmartPhone มีระบบปฏิบัติการจึงสามารถติดตั้งโปรแกรมเข้าไปได้บางยี่ห้อบางรุ่นก็ติดตั้งโปรแกรมอ่าน E-book มาในตัว แต่หากไม่มีก็สามารถหาโปรแกรมอ่าน E-book มาได้ ซึ่งก็มีหลายโปรแกรม และขึ้นอยู่กับแต่ละระบบปฏิบัติการ

== โปรแกรมสร้างไฟล์ E-book ==

การสร้าง E-BOOK นั้นเราสามารถสร้างได้จากหลายโปรแกรม ในที่นี้จะเน้นไปทางการสร้าง E-book ในแนวทางของ PDF เพราะเป็นที่นิยม และแพร่หลายมากกว่า ที่สำคัญสามารถนำไปใช้เชิงพาณิชย์ได้ โปรแกรมการสร้าง E-book นั้นมีอยู่ 2 ส่วนที่สำคัญคือ โปรแกรมที่ใช้ในการทำไฟล์อักษร และโปรแกรมที่ใช้ในการแปลงให้อยู่ในรูปแบบของ PDF

1. โปรแกรมที่เราใช้ในการสร้างวัตถุดิบ โปรแกรมประเภทนี้ ยกตัวอย่างเช่น โปรแกรม Microsoft Word หรือ Power Point เพื่อสร้างไฟล์งานขึ้นมาก่อน ซึ่งอาจนำไฟล์ที่มีอยู่แล้วมาเปิด และสร้างเป็น PDF ก็ได้ นอกจากโปรแกรม Word และ Excel แล้วยังมีอีกหลายโปรแกรมที่พวกมืออาชีพใช้อย่าง Adobe Pagemaker, Indesign แต่อาจมีการใช้งานที่ยุ่งยากกว่า

2. โปรแกรมที่ใช้แปลงไฟล์ในข้อ 1 มาอยู่ในแบบ PDF นั้น อันที่จริงหากลองไปค้น โดยพิมพ์คำว่า Convert to PDF ในอินเตอร์เน็ทมีมากมาย แต่ที่นิยมกันมากโดยเฉพาะในวงการสิ่งพิมพ์ คือ Adobe Acrobat เพราะเป็นต้นฉบับ ส่วนโปรแกรมอื่นๆ ก็มีอีก ทั้งฟรี และคิดเงิน (ส่วน Adobe Acrobat นั้นเป็นโปรแกรมคิดเงิน) ส่วนโปรแกรมอื่นที่ใช้งานง่ายๆ ก็มีแต่ไม่เป็นที่นิยมเท่า เช่น ของขายที่เคยเป็นอดีตคู่แข่งอย่าง Macromedia ก็ส่ง FlashPaper2 ออกมา

แต่ที่แนะนำ Adobe Acrobat นั้นเพราะเป็นโปรแกรมที่นอกจากจะสร้างไฟล์ PDF ได้แล้วนั้น เมื่อแปลงเป็นไฟล์ PDF แล้ว (หรือมีไฟล์ PDF ที่อนุญาตให้แก้ไขได้) เราสามารถแก้ไขไฟล์ PDF ได้โดย Adobe Acrobat Professional ประกอบไปด้วย Adobe Acrobat และ Acrobat Distiller

Adobe Acrobat เป็นโปรแกรมแก้ไข เพิ่มลูกเล่น เช่น ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวให้กับไฟล์ PDF ทำได้แม้กระทั่งนำไฟล์ PDF มาเรียงต่อกันเป็นไฟล์เดียว คล้ายเย็บแม็กรวมเล่ม หรือฉีกแยกเล่มก็ได้

Acrobat Distiller นั้นเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลงไฟล์ต่างๆให้อยู่ในรูปแบบ PDF ผู้ใช้สามารถเลือกความคมชัด ความละเอียดของหนังสือในไฟล์ได้ เช่น หากต้องการไฟล์ PDF ที่มีขนาดเล็กก็สามารถสั่งให้บีบเพื่อย่นขนาดของไฟล์ให้เล็กลง แต่รูปก็จะคมชัดน้อยกว่าไม่บีบ

ใน Adobe Acrobat ในเวอร์ชันใหม่ๆ ยังมีความสามารถในการเข้าไปฝังตัวในโปรแกรมงานต่างๆ ได้ ทั้ง Word, Excel, PowerPoint, Publisher หรือ Access กระทั่ง Internet Explorer ได้ ซึ่งจะมีปุ่มให้คลิกเพื่อแปลงไฟล์ที่เปิดอยู่ให้เป็นไฟล์ PDF (Adobe Acrobat ที่ทำได้จะเป็นเวอร์ชัน 6.0, 7.0 และ 8.0 ซึ่งใช้ได้เฉพาะ Windows XP/ 2000 เท่านั้น สำหรับผู้ใช้ Windows 98 / ME สามารถใช้งานได้ในเวอร์ชัน 3.0-5.0)

สามารถบันทึกเฉพาะไฟล์รูปในสกุล PDF ได้ โดยสามารถสร้างอัลบั้มรูปในแบบคล้ายหนังสือในแบบ PDF ได้ ในฐานะ E-book เล่มหนึ่ง

== หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ หนังสือธรรมดา ==


ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัท ไมโครซอฟท์ ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้คำแนะนำในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .CHM โดยมีตัวอ่านคือ Microsoft Reader และหลังจากนั้นมีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไป กล่าวคือ สามารถแทรกข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงเอกสาร (Hypertext) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกได้ อีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้ คุณสมบัติเหล่านี้ไม่สามารถทำได้ในหนังสือทั่วไป
ในโลกที่เปลี่ยนไป E-book เริ่มมามีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ แม้ว่าปัจจุบันอาจยังไม่เห็นชัดเจนนัก และอีกส่วนหนึ่งคือ ความเคยชินของนักอ่านที่ยังคงติดกับหนังสือที่ได้เปิดเป็นหน้าๆ แต่ในอีกไม่นานข้อดีของ E-book จะมาพร้อมกับการไม่ต้องตัดไม้มาทำกระดาษ และ E-book ก็สามารถพกพาไปอ่านได้ทุกที่ แม้มีแสงน้อย เพราะอุปกรณ์ E-book มักมีแสง Backlight ของตัวเอง E-book ยังทำให้อ่าน หรือทำความเข้าใจเป็นเรื่องง่ายกว่าหนังสือ ทั้งด้านภาพ เสียง สีสัน และภาพเคลื่อนไหว E-book จึงมักจะเป็นสื่อที่ง่ายต่อความเข้าถึงของความเข้าใจได้ดีกว่า


=ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป=
ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป จะอยู่ที่รูปแบบของการสร้างและการใช้งาน ดังนี้
{| class="wikitable" border="1"
|-
! หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
! หนังสือทั่วไป
|-
|ไม่ใช้กระดาษ (อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้)
| ใช้กระดาษ
|-
| สามารถสร้างให้มีภาพเคลื่อนไหวได้
| มีข้อความและภาพประกอบธรรมดา
|-
| สามารถใส่เสียงประกอบได้
| ไม่มีเสียงประกอบ
|-
| สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล (update) ได้ง่าย
| สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ยาก
|-
| สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปยังข้อมูลภายนอกได้
| มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
|-
| มีต้นทุนในการผลิตหนังสือต่ำ
| มีต้นทุนการผลิตสูง
|-
| ไม่มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์ สามารถทำสำเนาได้ง่ายไม่จำกัด
| มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์
|-
| สามารถอ่านผ่านคอมพิวเตอร์ และสั่งพิมพ์ผลได้
| สามารถเปิดอ่านจากเล่ม อ่านได้อย่างเดียว
|-
| หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกันได้จำนวนมาก (ออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต)
| สามารถอ่านได้ 1 คนต่อหนึ่งเล่ม
|-
| สามารถพกพาสะดวกได้ครั้งละจำนวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ และสามารถเข้าถึงโดยไม่จำกัดเรื่องสถานที่และเวลา
| สามารถพกพาลำบาก และต้องเดินทางไปใช้ที่ห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศต่าง ๆ
|}
[[หมวดหมู่:หนังสือ]]
[[หมวดหมู่:หนังสือ]]
[[หมวดหมู่:เอกสาร]]
[[หมวดหมู่:เอกสาร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:37, 16 มกราคม 2553

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: E-book) เป็นหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book reader) ได้

วิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

แนวความคิดเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นภายหลัง ปี ค.ศ. 1940 โดยปรากฏในนวนิยายวิทยาศาสตร์ ต่อมาได้มีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสแกนหนังสือจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มภาพตัวหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และนำแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่าน กระบวนการแปลงภาพเป็นข้อความด้วยการทำ OCR (Optical Character Recognition) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นข้อความที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ การถ่ายทอดข้อมูลจะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ดังนั้นหน้ากระดาษจึงเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูลแทน ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (Documents printing) ทำให้รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรก ๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc .txt .rtf และ .pdf ไฟล์ เมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่าง ๆ จึงถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยปรากฏในแต่ละหน้าของเว็บไซต์ซึ่งเรียกว่า "web page" ผู้อ่านสามารถเปิดดูเอกสารเหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัท ไมโครซอฟท์ ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้คำแนะนำในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .CHM โดยมีตัวอ่านคือ Microsoft Reader และหลังจากนั้นมีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไป กล่าวคือ สามารถแทรกข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงเอกสาร (Hypertext) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกได้ อีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้ คุณสมบัติเหล่านี้ไม่สามารถทำได้ในหนังสือทั่วไป

ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป

ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป จะอยู่ที่รูปแบบของการสร้างและการใช้งาน ดังนี้

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หนังสือทั่วไป
ไม่ใช้กระดาษ (อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้) ใช้กระดาษ
สามารถสร้างให้มีภาพเคลื่อนไหวได้ มีข้อความและภาพประกอบธรรมดา
สามารถใส่เสียงประกอบได้ ไม่มีเสียงประกอบ
สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล (update) ได้ง่าย สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ยาก
สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปยังข้อมูลภายนอกได้ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
มีต้นทุนในการผลิตหนังสือต่ำ มีต้นทุนการผลิตสูง
ไม่มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์ สามารถทำสำเนาได้ง่ายไม่จำกัด มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์
สามารถอ่านผ่านคอมพิวเตอร์ และสั่งพิมพ์ผลได้ สามารถเปิดอ่านจากเล่ม อ่านได้อย่างเดียว
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกันได้จำนวนมาก (ออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต) สามารถอ่านได้ 1 คนต่อหนึ่งเล่ม
สามารถพกพาสะดวกได้ครั้งละจำนวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ และสามารถเข้าถึงโดยไม่จำกัดเรื่องสถานที่และเวลา สามารถพกพาลำบาก และต้องเดินทางไปใช้ที่ห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศต่าง ๆ