ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัลบูร์กา ฮับส์บูร์ก ดักลาส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: it:Walburga d'Asburgo-Lorena
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: bs:Walburga Habsburg Douglas; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
|-
|-
! พระอิสริยยศ
! พระอิสริยยศ
| อาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย<br/>เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี<br/>เค้านท์เตสดักลาส
| อาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย<br />เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี<br />เค้านท์เตสดักลาส
|-
|-
! พระสวามี
! พระสวามี
บรรทัด 46: บรรทัด 46:


ตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2546]] พระองค์ทรงเป็นประธานหญิงของที่ปรึกษาพรรคพอเพียงใน[[ประเทศสวีเดน]] รวมไปถึงทรงเป็นสมาชิกมูลนิธิจาร์ล ฮาร์จมาเซน ตั้งแต่ป[[พ.ศ. 2548]] และตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2542]]และ[[พ.ศ. 2547]] พระองค์ทรงเข้าสู่สภาสหภาพยุโรป ปี[[พ.ศ. 2545]]และ[[พ.ศ. 2549]] ทรงเข้าสู่สภานานาชาติ (ริกส์ดาเก้น) และพระองค์ทรงเป็นสมาชิกสภาสวีเดนในวันที่ [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] พระองค์จึงทรงประทับอยู่กับครอบครัวที่ประเทศสวีเดน โดยไม่ค่อยทรงกลับ[[ประเทศออสเตรีย]]บ่อยนัก
ตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2546]] พระองค์ทรงเป็นประธานหญิงของที่ปรึกษาพรรคพอเพียงใน[[ประเทศสวีเดน]] รวมไปถึงทรงเป็นสมาชิกมูลนิธิจาร์ล ฮาร์จมาเซน ตั้งแต่ป[[พ.ศ. 2548]] และตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2542]]และ[[พ.ศ. 2547]] พระองค์ทรงเข้าสู่สภาสหภาพยุโรป ปี[[พ.ศ. 2545]]และ[[พ.ศ. 2549]] ทรงเข้าสู่สภานานาชาติ (ริกส์ดาเก้น) และพระองค์ทรงเป็นสมาชิกสภาสวีเดนในวันที่ [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] พระองค์จึงทรงประทับอยู่กับครอบครัวที่ประเทศสวีเดน โดยไม่ค่อยทรงกลับ[[ประเทศออสเตรีย]]บ่อยนัก
{{เกิดปี|2500}}


[[หมวดหมู่:พระราชวงศ์ออสเตรีย|ว]]
[[หมวดหมู่:พระราชวงศ์ออสเตรีย|ว]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก|ว]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก|ว]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลฮับส์บูร์ก-โลทรินเจน|ว]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลฮับส์บูร์ก-โลทรินเจน|ว]]
{{เกิดปี|2500}}


[[bs:Nadvojvotkinja Walburga od Austrije]]
[[bs:Walburga Habsburg Douglas]]
[[cs:Walburga Habsburg Douglas]]
[[cs:Walburga Habsburg Douglas]]
[[de:Walburga Habsburg Douglas]]
[[de:Walburga Habsburg Douglas]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:00, 12 มกราคม 2553

อาร์คดัชเชสวาร์ลบูก้าแห่งออสเตรีย
อาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และ เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี
พระนามเต็ม วาร์ลบูก้า มาเรีย ฟรานซิสก้า เฮเลน เอลิซาเบธ
พระราชสมภพ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2500 (50 พรรษา)
พระอิสริยยศ อาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย
เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี
เค้านท์เตสดักลาส
พระสวามี ท่านเค้านท์อาร์คิบาล์ด ดักลาส
พระราชบุตร เค้านท์มอริทซ์ ดักลาส
ราชวงศ์ ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก
พระราชบิดา สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย
พระราชมารดา สมเด็จพระจักรพรรดินีเรจิน่าแห่งออสเตรีย

อาร์คดัชเชสวาร์ลบูก้าแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: วาร์ลบูก้า มาเรีย ฟรานซิสก้า เฮเลน เอลิซาเบธ; Walburga Maria Franziska Helene Elisabeth von Habsburg-Lothringen) ทรงประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2500 ณ เมืองชล๊อสเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี ทรงเป็นพระธิดาองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีเรจิน่าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงเป็นนักกฎหมายและนักการเมือง โดยเป็นสมาชิกสภาแห่งประเทศสวีเดนตั้งแต่ปีพ.ศ. 2549 โดยพระองค์ทรงมีพระนามทางการเมืองว่า วาร์ลบูก้า ฮับส์บูร์ก-ดักลาส (Warlburga Habsburg-Douglas)

พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับท่านเค้านท์อาร์คิบาล์ด ดักลาส ชาวสวีเดนเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535กรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ทั้งสองทรงมีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ เค้านท์มอริตซ์ ออตโต เว็นเซล ดักลาส ซึ่งประสูติเมื่อวันที่30 มีนาคมพ.ศ. 2537

อาชีพและการทรงงานของพระองค์

หลังจากที่ทรงสำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2520 ณ เมืองตุ๊ดส์เบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี พระองค์ทรงศึกษาต่อวิชากฎหมายในระดับด๊อกเตอร์ ณ เมืองซาร์ลซบูร์ก

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522ถึงพ.ศ. 2535 พระองค์ทรงทำงานให้กับสภาสหภาพยุโรป ปีพ.ศ. 2526 พระองค์ทรงศึกษาด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชน ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และทรงทำงานให้กับนิตยสารรีเดอร์ส ไดเจสต์ ต่อมาทรงทำงานให้กับกระทรวงประชาสัมพันธ์ ประเทศโอมาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528ถึงพ.ศ. 2535 และปีพ.ศ. 2547 พระองค์ทรงเป็นสมาชิกสื่ออาหรับนานาชาติในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร

ในปีพ.ศ. 2516 พระองค์ทรงก่อตั้งสมาคมทนายความแพนยูโรปา (Paneuropa-Jugend Deutschland) ณ บาวาเรีย โดยพระองค์ทรงเป็นรองประธานในระดับนานาชาติ และอีก 3 ปีต่อมา พระองค์ทรงก่อตั้งสมาคมบรูซวิทซ์ เซนทรัม (Brüsewitz-Zentrum; Christlich-Paneuropäisches Studienwerk) โดยตั้งแต่ปีพ.ศ. 2523ถึงพ.ศ. 2531 ทรงเป็นผู้ช่วยด้านการรักษาความปลอดภัยของสมาคมแพนยูโรเปียนนานาชาติ ต่อมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2531ถึงพ.ศ. 2547 ทรงเป็นเลขานุการและทรงเป็นรองเลขานุการตั้งแต่ปีพ.ศ. 2547เป็นต้นมา พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสมาคมแพนยูโรปา-ปิคนิค เมื่อวันที่19 สิงหาคม พ.ศ. 2531 ณ พรมแดนระหว่างประเทศออสเตรียและประเทศฮังการี ในโอกาสนี้ สมาคมนี้เปิดเพื่อเป็นที่หลบภัยของผู้ลี้ภัยชาวเยอรมันกว่า 660 คนจากแดนตะวันออก ตั้งแต่กำแพงเบอร์ลินได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก

พระราชวงศ์ออสเตรีย
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน

อาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรีย


เคานเตสแห่งเนปเปิร์ก
ดัชเชสแห่งแซนท์เองเจลโล
อาร์ชดัชเชส มีชาเอลา
อาร์ชดัชเชส กาบรีลา
อาร์ชดัชเชส วัลบูร์กา เคานเตสดักลาส
อาร์ชดยุก จอร์จ
อาร์ชดัชเชส ไอคีลา

ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2546 พระองค์ทรงเป็นประธานหญิงของที่ปรึกษาพรรคพอเพียงในประเทศสวีเดน รวมไปถึงทรงเป็นสมาชิกมูลนิธิจาร์ล ฮาร์จมาเซน ตั้งแต่ปพ.ศ. 2548 และตั้งแต่ปีพ.ศ. 2542และพ.ศ. 2547 พระองค์ทรงเข้าสู่สภาสหภาพยุโรป ปีพ.ศ. 2545และพ.ศ. 2549 ทรงเข้าสู่สภานานาชาติ (ริกส์ดาเก้น) และพระองค์ทรงเป็นสมาชิกสภาสวีเดนในวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2549 พระองค์จึงทรงประทับอยู่กับครอบครัวที่ประเทศสวีเดน โดยไม่ค่อยทรงกลับประเทศออสเตรียบ่อยนัก