ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thongdee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thongdee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
พระนารายณ์ราชนิเวศน์
พระนารายณ์ราชนิเวศน์
พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นพระราชวังที่[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ [[พระราชวัง]]8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จสวรรคต ณ [[พระที่นั่งสุทธาสวรรค์]] เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2231ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช [[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]]ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์โปรดให้บูรณะพระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสร้าง[[พระที่นั่ง]]ขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า '"พระนารายณ์ราชนิเวศน์''' และรัฐบาลใช้เป็นศาลากลางจังหวัด และต่อมา [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] และสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ขึ้นที่พระที่นั่งจันทรพิศาลในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467 เรียกว่า ลพบุรี[[พิพิธภัณฑสถาน]] และในปี พ.ศ. 2504 จึงได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเป็น [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ]] สมเด็จพระนารายณ์ ปัจจุบันได้จัดแสดงศิลปโบราณวัตถุตามอาคารและพระที่นั่งต่างๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เป็นจำนวนกว่า 1,864 รายการ
พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นพระราชวังที่[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ [[พระราชวัง]]8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2231ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช [[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]]ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์โปรดให้บูรณะพระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสร้าง[[พระที่นั่ง]]ขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า '"พระนารายณ์ราชนิเวศน์''' และรัฐบาลใช้เป็นศาลากลางจังหวัด และต่อมา [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] และสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ขึ้นที่พระที่นั่งจันทรพิศาลในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467 เรียกว่า ลพบุรีพิพิธภัณฑสถาน และในปี พ.ศ. 2504 จึงได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเป็น [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ]] สมเด็จพระนารายณ์ ปัจจุบันได้จัดแสดงศิลปโบราณวัตถุตามอาคารและพระที่นั่งต่างๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เป็นจำนวนกว่า 1,864 รายการ
[[ไฟล์:Lopbprnivet0306b.jpg|thumb|rigth|360px|พระที่นั่งพิมานมงกุฎ]]

[[ไฟล์:Lopbprnivet0306b.jpg|thumb|rigth|320px|พระที่นั่งพิมานมงกุฎ]]


==การจัดแสดง==
==การจัดแสดง==
===พระที่นั่งพิมานมงกุฎ===
===พระที่นั่งพิมานมงกุฎ===
[[ไฟล์:Hilight05.jpg|thumb|rigth|280px|พระพุทธรูปศิลปะเขมรในลพบุรี]]
[[ไฟล์:WaterBuffaloLopburiThailand2300BCE.jpg|thumb|rigth|170px|ภาชนะดินเผารูปวัว สมัยก่อนประวัติศาสตร์]]
[[ไฟล์:WaterBuffaloLopburiThailand2300BCE.jpg|thumb|rigth|170px|ภาชนะดินเผารูปวัว สมัยก่อนประวัติศาสตร์]]
[[ไฟล์:Narayana12.jpg|thumb|rigth|170px|ภาพราชทูตฝรั่งเศส ถวายพระราชสาสน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
[[ไฟล์:Narayana12.jpg|thumb|rigth|170px|ภาพราชทูตฝรั่งเศส ถวายพระราชสาสน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
'''พระที่นั่งพิมานมงกุฎ''' เป็นอาคารสูง 3 ชั้น สร้างขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสถาปัตยกรรมแบบ[[จีน]] สำหรับเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ปัจจุบันได้จัดแสดงนิทรรศการถาวร 7 เรื่องด้วยกัน ได้แก่ การจัดแสดงนิทรรศการถาวร 2 เรื่อง คือเรื่องสมัยก่อนประวัติศาสตร์แถบ[[ภาคกลาง]] ลุ่ม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เมื่อประมาณ 3,500 - 4,000 ปีมาแล้ว จัดแสดงโบราณวัตถุที่พบจากการขุดค้นที่[[แหล่งโบราณคดี]] ในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค แหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ แหล่งโบราณคดีบ้านดงมะรุม [[แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทินใต้]] และ [[แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว]] เช่น โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำจากโลหะ และเครื่องประดับที่ทำจากหินและเปลือก[[หอย]] เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีห้องจัดแสดงโบราณคดีบ้านท่าแค จ. ลพบุรี ที่มีอายุประมาณ 3,500 - 1,000 ปี
'''พระที่นั่งพิมานมงกุฎ''' เป็นอาคารสูง 3 ชั้น สร้างขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสถาปัตยกรรมแบบ[[จีน]] สำหรับเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ปัจจุบันได้จัดแสดงนิทรรศการถาวร 7 เรื่องด้วยกัน ได้แก่ การจัดแสดงนิทรรศการถาวร 2 เรื่อง คือเรื่องสมัยก่อนประวัติศาสตร์แถบ[[ภาคกลาง]] ลุ่ม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เมื่อประมาณ 3,500 - 4,000 ปีมาแล้ว จัดแสดงโบราณวัตถุที่พบจากการขุดค้นที่[[แหล่งโบราณคดี]] ในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค แหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ แหล่งโบราณคดีบ้านดงมะรุม [[แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทินใต้]] และ [[แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว]] เช่น โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำจากโลหะ และเครื่องประดับที่ทำจากหินและเปลือก[[หอย]] เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีห้องจัดแสดงโบราณคดีบ้านท่าแค จ. ลพบุรี ที่มีอายุประมาณ 3,500 - 1,000 ปี

[[ไฟล์:Hilight05.jpg|thumb|rigth|280px|พระพุทธรูปศิลปะเขมรในลพบุรี]]
====พระที่นั่งพิมานมงกุฎชั้นที่ 1====
====พระที่นั่งพิมานมงกุฎชั้นที่ 1====
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา พ.ศ. 700 - 1400 จำแนกเป็นเรื่องเมืองและการตั้งถิ่นฐาน และการดำรงชีวิต อักษร-ภาษา ศาสนสถาน [[ศาสนา]]และความเชื่อ จากหลักฐานที่เป็นโบราณวัตถุแบบ[[ทวารวดี]]ที่พบใน[[จังหวัดลพบุรี]] โบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ [[พระพุทธรูป]] พระพิมพ์ รูปเคารพเนื่องในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เหรียญ ตราประทับ จารึก ฯลฯ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา พ.ศ. 700 - 1400 จำแนกเป็นเรื่องเมืองและการตั้งถิ่นฐาน และการดำรงชีวิต อักษร-ภาษา ศาสนสถาน [[ศาสนา]]และความเชื่อ จากหลักฐานที่เป็นโบราณวัตถุแบบ[[ทวารวดี]]ที่พบใน[[จังหวัดลพบุรี]] โบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ [[พระพุทธรูป]] พระพิมพ์ รูปเคารพเนื่องในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เหรียญ ตราประทับ จารึก ฯลฯ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:15, 22 ธันวาคม 2552

พระนารายณ์ราชนิเวศน์ พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ พระราชวัง8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2231ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระนารายณ์ราชนิเวศน์ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดให้บูรณะพระราชวังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า '"พระนารายณ์ราชนิเวศน์ และรัฐบาลใช้เป็นศาลากลางจังหวัด และต่อมา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ และสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ขึ้นที่พระที่นั่งจันทรพิศาลในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467 เรียกว่า ลพบุรีพิพิธภัณฑสถาน และในปี พ.ศ. 2504 จึงได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเป็น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ปัจจุบันได้จัดแสดงศิลปโบราณวัตถุตามอาคารและพระที่นั่งต่างๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เป็นจำนวนกว่า 1,864 รายการ

พระที่นั่งพิมานมงกุฎ

การจัดแสดง

พระที่นั่งพิมานมงกุฎ

ไฟล์:Hilight05.jpg
พระพุทธรูปศิลปะเขมรในลพบุรี
ภาชนะดินเผารูปวัว สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ไฟล์:Narayana12.jpg
ภาพราชทูตฝรั่งเศส ถวายพระราชสาสน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

พระที่นั่งพิมานมงกุฎ เป็นอาคารสูง 3 ชั้น สร้างขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสถาปัตยกรรมแบบจีน สำหรับเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ปัจจุบันได้จัดแสดงนิทรรศการถาวร 7 เรื่องด้วยกัน ได้แก่ การจัดแสดงนิทรรศการถาวร 2 เรื่อง คือเรื่องสมัยก่อนประวัติศาสตร์แถบภาคกลาง ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อประมาณ 3,500 - 4,000 ปีมาแล้ว จัดแสดงโบราณวัตถุที่พบจากการขุดค้นที่แหล่งโบราณคดี ในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค แหล่งโบราณคดีบ้านโคกหม้อ แหล่งโบราณคดีบ้านดงมะรุม แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทินใต้ และ แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว เช่น โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำจากโลหะ และเครื่องประดับที่ทำจากหินและเปลือกหอย เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีห้องจัดแสดงโบราณคดีบ้านท่าแค จ. ลพบุรี ที่มีอายุประมาณ 3,500 - 1,000 ปี

พระที่นั่งพิมานมงกุฎชั้นที่ 1

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา พ.ศ. 700 - 1400 จำแนกเป็นเรื่องเมืองและการตั้งถิ่นฐาน และการดำรงชีวิต อักษร-ภาษา ศาสนสถาน ศาสนาและความเชื่อ จากหลักฐานที่เป็นโบราณวัตถุแบบทวารวดีที่พบในจังหวัดลพบุรี โบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ พระพุทธรูป พระพิมพ์ รูปเคารพเนื่องในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เหรียญ ตราประทับ จารึก ฯลฯ

พระที่นั่งพิมานมงกุฎชั้นที่ 2

จัดแสดงนิทรรศการถาวร 4 เรื่อง คือ เรื่องประวัติศาสตร์และศิลปกรรมภาคกลางของประเทศไทย อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 - 18 หรือสมัยอิทธิพลศิลปะเขมร โบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ ทับหลัง พระพุทธรูปนาคปรก และเศียรพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เรื่องประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย จัดแสดงศิลปกรรมแบบต่างๆ ที่พบในภูมิภาคต่างๆ ในประเทศไทย ที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 11 เป็นต้นมา คือ ศิลปะแบบลพบุรี ศิลปะสุโขทัย ศิลปะบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ประเทศไทย (ศิลปะศรีวิชัย) ศิลปะทางภาคเหนือศิลปะล้านนาและศิลปะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น การแสดงเครื่องถ้วยที่พบในประเทศไทย จัดแสดงเครื่องถ้วยแบบต่างๆ ทั้งที่ผลิตในประเทศไทย และศิลปโบราณวัตถุ พุทธศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา (ศิลปกรมอยุธยา-รัตนโกสินทร์) โบราณวัตถุที่สำคัญได้แก่ พระพุทธรูป บานประตูไม้แกะสลัก ชิ้นส่วนปูนปั้นประดับสถาปัตยกรรม เหรียญตรา ผ้า เครื่องเงิน-ทอง เครื่องถ้วย ฯลฯ

พระที่นั่งพิมานมงกุฎชั้นที่ 3

แต่เดิมเป็นห้องบรรทมของรัชกาลที่ 4 คือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ห้องดังกล่าวจัดแสดงโบราณวัตถุที่สำคัญได้แก่ ฉลองพระองค์ ภาพพระสาทิสลักษณ์ แท่นบรรทม เหรียญ เครื่องแก้ว และจานชามมีสัญลักษณ์รูปมงกุฎ

พระที่นั่งจันทรพิศาล

พระที่นั่งจันทรพิศาล เป็นท้องพระโรงสำหรับประชุมเสนาบดีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีห้องจัดแสดง 2 ห้อง คือ

  1. เรื่องประวัติศาสตร์สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดแสดงภาพประวัติศาสตร์ที่สำคัญในรัชสมัยของพระองค์ ที่ชาวต่างประเทศได้วาดไว้ และโบราณวัตถุที่มีอายุในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รวมไปถึงการติดต่อกับชาติตะวันตก เช่น ฮอลันดา โปรตุเกส ในสมัยนั้นเป็นต้น
  2. เรื่องศาสนวัตถุต่างๆ ในพุทธศตวรรษที่ 19 - 24 (สมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์) จัดแสดงตู้พระธรรม ธรรมาสน์ ตาลปัตร สมุดไทย

หมู่ตึกพระประเทียบ

หมู่ตึกพระประเทียบ เป็นนเขตพระราชฐานชั้นใน สมัยรัชกาลที่ 4 มี 8 หลัง ได้จัดแสดงนิทรรศการถาวร 2 เรื่อง ได้แก่

  1. เรื่องชีวิตไทยภาคกลาง (พิพิธภัณฑ์ชาวนา) จัดแสดงเรื่องชีวิตไทยภาคกลาง
  2. เรื่องหนังใหญ่ จัดแสดงหนังใหญ่ของจังหวัดลพบุรีที่ได้จากวัดตะเคียน และวัดสำราญ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง