ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: es:Último antepasado común universal
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: id:Leluhur universal terakhir; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เว็บย่อ|LUCA}}
{{เว็บย่อ|LUCA}}
[[ภาพ:Chart Tree of life colored.png|thumb|right|250px|[[แผนภูมิต้นไม้]]แบบวงกลม แสดง[[วงศ์วานวิวัฒนาการ]] ของ[[สิ่งมีชีวิตระบบเซลล์]] โดยแบ่งตาม[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|อาณาจักร]]และโดเมน สีม่วงคือ[[แบคทีเรีย]] สีเทาเข้มคือ[[อาร์เคีย]] สีน้ำตาลคือ[[ยูแคริโอต]] โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ [[สัตว์]](แดง) [[ฟังไจ]](น้ำเงิน) [[พืช]](เขียว) [[โครมาลวีโอลาตา]](น้ำทะเล) และ [[โพรทิสตา]](เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) ]]
[[ไฟล์:Chart Tree of life colored.png|thumb|right|250px|[[แผนภูมิต้นไม้]]แบบวงกลม แสดง[[วงศ์วานวิวัฒนาการ]] ของ[[สิ่งมีชีวิตระบบเซลล์]] โดยแบ่งตาม[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|อาณาจักร]]และโดเมน สีม่วงคือ[[แบคทีเรีย]] สีเทาเข้มคือ[[อาร์เคีย]] สีน้ำตาลคือ[[ยูแคริโอต]] โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ [[สัตว์]](แดง) [[ฟังไจ]](น้ำเงิน) [[พืช]](เขียว) [[โครมาลวีโอลาตา]](น้ำทะเล) และ [[โพรทิสตา]](เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) ]]
'''บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก''' ({{ภษ|อังกฤษ}}:last universal common ancestor; ตัวย่อ: LUCA) หมายถึง [[สิ่งมีชีวิต]]รุ่นล่าสุด ที่เป็นบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้ คล้ายคลึงกับ [[บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุด]]<ref>[http://www.turffy.com/KEVIN&RAJESH/Systematics/-%20Jessy%20Bio%20-%20--%20Current%20Contents%20in%20Biology%20by%20Dr_Jessada%20Denduangboripant.htm ผศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์. '''ระบบวิทยา และ วงศ์วานวิวัฒนาการ (Systematics and Phylogeny)''' -- กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]</ref> (MRCA) ซึ่งหมายความถึงสับเซตใดๆของ LUCA ขณะที่ LUCA เองมีความหมายครอบคลุมถึงทุกเซตทั้งหมด
'''บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก''' ({{ภษ|อังกฤษ}}:last universal common ancestor; ตัวย่อ: LUCA) หมายถึง [[สิ่งมีชีวิต]]รุ่นล่าสุด ที่เป็นบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้ คล้ายคลึงกับ [[บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุด]]<ref>[http://www.turffy.com/KEVIN&RAJESH/Systematics/-%20Jessy%20Bio%20-%20--%20Current%20Contents%20in%20Biology%20by%20Dr_Jessada%20Denduangboripant.htm ผศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์. '''ระบบวิทยา และ วงศ์วานวิวัฒนาการ (Systematics and Phylogeny)''' -- กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]</ref> (MRCA) ซึ่งหมายความถึงสับเซตใดๆของ LUCA ขณะที่ LUCA เองมีความหมายครอบคลุมถึงทุกเซตทั้งหมด


==ข้อยกเว้น==
== ข้อยกเว้น ==
แม้ LUCA จะมีความหมายครอบคลุมถึงบรรพบุรุษของทุกชีวิตอันอาศัยบน[[โลก]]ใบนี้ แต่ความหมายในตัวของ LUCA ไม่ได้หมายความถึง สิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่อาศัยอยู่บนโลก หรือ สิ่งมีชีวิตขั้นพื้นฐานใดๆซึ่งเชื่อว่าอาศัยอยู่ก่อนหน้า
แม้ LUCA จะมีความหมายครอบคลุมถึงบรรพบุรุษของทุกชีวิตอันอาศัยบน[[โลก]]ใบนี้ แต่ความหมายในตัวของ LUCA ไม่ได้หมายความถึง สิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่อาศัยอยู่บนโลก หรือ สิ่งมีชีวิตขั้นพื้นฐานใดๆซึ่งเชื่อว่าอาศัยอยู่ก่อนหน้า


==ประวัติ==
== ประวัติ ==
ในขั้นแรกเมื่อมีการนิยามถึง LUCA นั้น เป็นช่วงที่นัก[[อนุกรมวิธาน]] ได้แยก[[อาร์เคีย]] ออกจาก[[อาณาจักรมอเนอรา]] เนื่องจากเชื่อว่าอาร์คีแบคทีเรีย มีวิวัฒนาการแตกต่างไปจากยูแบคทีเรีย และดูใกล้เคียงกับ[[ยูแคริโอต]]มากกว่า จึงแยกอาณาจักรมอเนอราเป็นสองส่วน คือ [[อาณาจักรอาร์คีแบคทีเรีย]] และ[[อาณาจักรยูแบคทีเรีย]] ซึ่งก็ตั้งเป็น[[โดเมนอาร์เคีย]] และ[[โดเมนแบคทีเรีย]] ซึ่งโดเมนอาร์เคีย และยูแคริโอต ก็ถูกจับรวมกลุ่มกันในชื่อของ [[นีโอมูรา]] จนในที่สุดแล้ว LUCA จึงเป็นสมมติฐานที่ระบุถึงสิ่งมีชีวิตอันเป็น[[บรรพบุรุษร่วม]] (common ancestor) ของนีโอมูรา และแบคทีเรีย
ในขั้นแรกเมื่อมีการนิยามถึง LUCA นั้น เป็นช่วงที่นัก[[อนุกรมวิธาน]] ได้แยก[[อาร์เคีย]] ออกจาก[[อาณาจักรมอเนอรา]] เนื่องจากเชื่อว่าอาร์คีแบคทีเรีย มีวิวัฒนาการแตกต่างไปจากยูแบคทีเรีย และดูใกล้เคียงกับ[[ยูแคริโอต]]มากกว่า จึงแยกอาณาจักรมอเนอราเป็นสองส่วน คือ [[อาณาจักรอาร์คีแบคทีเรีย]] และ[[อาณาจักรยูแบคทีเรีย]] ซึ่งก็ตั้งเป็น[[โดเมนอาร์เคีย]] และ[[โดเมนแบคทีเรีย]] ซึ่งโดเมนอาร์เคีย และยูแคริโอต ก็ถูกจับรวมกลุ่มกันในชื่อของ [[นีโอมูรา]] จนในที่สุดแล้ว LUCA จึงเป็นสมมติฐานที่ระบุถึงสิ่งมีชีวิตอันเป็น[[บรรพบุรุษร่วม]] (common ancestor) ของนีโอมูรา และแบคทีเรีย


เป็นไปได้ว่าปัจจุบัน LUCA ได้สูญพันธุ์ไปจากโลกนี้แล้ว แต่สิ่งที่ยังคงอยู่คือลูกหลายอันเป็นมรดกตกทอดทางพันธุกรรม อย่างไรก็ตามความเชื่อนี้ถือเป็นข้อปฏิเสธกับทฤษฎี[[การส่งผ่านพันธุกรรมแนวราบ]] ในเรื่องนี้ [[คาร์ล เวอร์ส]] นัก[[จุลชีววิทยา]][[ชาวอเมริกัน]]เชื่อว่า ไม่มีสิ่งมีสิ่งมีชีวิตใด ที่ส่งต่อพันธุกรรมโดยสมบูรณ์มาจาก LUCA แต่เขาเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตบนโลกในปัจจุบันนี้ทุกชนิด ต่างก็ได้รับการพัฒนาการ จากสังคมของสิ่งมีชีวิตโบราณด้วยกันทั้งสิ้น<ref>Woese, Carl, ''The universal ancestor,'' Procedings of the National Academy of Sciences, Vol. 95, Issue 12, 6854-6859, June 9, 1998, http://www.pnas.org/cgi/content/full/95/12/6854 </ref>
เป็นไปได้ว่าปัจจุบัน LUCA ได้สูญพันธุ์ไปจากโลกนี้แล้ว แต่สิ่งที่ยังคงอยู่คือลูกหลายอันเป็นมรดกตกทอดทางพันธุกรรม อย่างไรก็ตามความเชื่อนี้ถือเป็นข้อปฏิเสธกับทฤษฎี[[การส่งผ่านพันธุกรรมแนวราบ]] ในเรื่องนี้ [[คาร์ล เวอร์ส]] นัก[[จุลชีววิทยา]][[ชาวอเมริกัน]]เชื่อว่า ไม่มีสิ่งมีสิ่งมีชีวิตใด ที่ส่งต่อพันธุกรรมโดยสมบูรณ์มาจาก LUCA แต่เขาเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตบนโลกในปัจจุบันนี้ทุกชนิด ต่างก็ได้รับการพัฒนาการ จากสังคมของสิ่งมีชีวิตโบราณด้วยกันทั้งสิ้น<ref>Woese, Carl, ''The universal ancestor,'' Procedings of the National Academy of Sciences, Vol. 95, Issue 12, 6854-6859, June 9, 1998, http://www.pnas.org/cgi/content/full/95/12/6854 </ref>


==ดูเพิ่ม==
== ดูเพิ่ม ==
* [[บรรพชีวินวิทยา]]
* [[บรรพชีวินวิทยา]]
* [[อนุกรมวิธาน]]
* [[อนุกรมวิธาน]]
* [[จุลชีววิทยา]]
* [[จุลชีววิทยา]]


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
<references />
<references />


บรรทัด 32: บรรทัด 32:
[[fr:Dernier ancêtre commun universel]]
[[fr:Dernier ancêtre commun universel]]
[[he:האב הקדמון הכולל]]
[[he:האב הקדמון הכולל]]
[[id:Last universal ancestor]]
[[id:Leluhur universal terakhir]]
[[is:Síðasti sameiginlegi forfaðir allra núlifandi lífvera]]
[[is:Síðasti sameiginlegi forfaðir allra núlifandi lífvera]]
[[it:Ultimo antenato comune universale]]
[[it:Ultimo antenato comune universale]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:15, 16 ธันวาคม 2552

แผนภูมิต้นไม้แบบวงกลม แสดงวงศ์วานวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตระบบเซลล์ โดยแบ่งตามอาณาจักรและโดเมน สีม่วงคือแบคทีเรีย สีเทาเข้มคืออาร์เคีย สีน้ำตาลคือยูแคริโอต โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ สัตว์(แดง) ฟังไจ(น้ำเงิน) พืช(เขียว) โครมาลวีโอลาตา(น้ำทะเล) และ โพรทิสตา(เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA)

บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (อังกฤษ:last universal common ancestor; ตัวย่อ: LUCA) หมายถึง สิ่งมีชีวิตรุ่นล่าสุด ที่เป็นบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้ คล้ายคลึงกับ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุด[1] (MRCA) ซึ่งหมายความถึงสับเซตใดๆของ LUCA ขณะที่ LUCA เองมีความหมายครอบคลุมถึงทุกเซตทั้งหมด

ข้อยกเว้น

แม้ LUCA จะมีความหมายครอบคลุมถึงบรรพบุรุษของทุกชีวิตอันอาศัยบนโลกใบนี้ แต่ความหมายในตัวของ LUCA ไม่ได้หมายความถึง สิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่อาศัยอยู่บนโลก หรือ สิ่งมีชีวิตขั้นพื้นฐานใดๆซึ่งเชื่อว่าอาศัยอยู่ก่อนหน้า

ประวัติ

ในขั้นแรกเมื่อมีการนิยามถึง LUCA นั้น เป็นช่วงที่นักอนุกรมวิธาน ได้แยกอาร์เคีย ออกจากอาณาจักรมอเนอรา เนื่องจากเชื่อว่าอาร์คีแบคทีเรีย มีวิวัฒนาการแตกต่างไปจากยูแบคทีเรีย และดูใกล้เคียงกับยูแคริโอตมากกว่า จึงแยกอาณาจักรมอเนอราเป็นสองส่วน คือ อาณาจักรอาร์คีแบคทีเรีย และอาณาจักรยูแบคทีเรีย ซึ่งก็ตั้งเป็นโดเมนอาร์เคีย และโดเมนแบคทีเรีย ซึ่งโดเมนอาร์เคีย และยูแคริโอต ก็ถูกจับรวมกลุ่มกันในชื่อของ นีโอมูรา จนในที่สุดแล้ว LUCA จึงเป็นสมมติฐานที่ระบุถึงสิ่งมีชีวิตอันเป็นบรรพบุรุษร่วม (common ancestor) ของนีโอมูรา และแบคทีเรีย

เป็นไปได้ว่าปัจจุบัน LUCA ได้สูญพันธุ์ไปจากโลกนี้แล้ว แต่สิ่งที่ยังคงอยู่คือลูกหลายอันเป็นมรดกตกทอดทางพันธุกรรม อย่างไรก็ตามความเชื่อนี้ถือเป็นข้อปฏิเสธกับทฤษฎีการส่งผ่านพันธุกรรมแนวราบ ในเรื่องนี้ คาร์ล เวอร์ส นักจุลชีววิทยาชาวอเมริกันเชื่อว่า ไม่มีสิ่งมีสิ่งมีชีวิตใด ที่ส่งต่อพันธุกรรมโดยสมบูรณ์มาจาก LUCA แต่เขาเชื่อว่า สิ่งมีชีวิตบนโลกในปัจจุบันนี้ทุกชนิด ต่างก็ได้รับการพัฒนาการ จากสังคมของสิ่งมีชีวิตโบราณด้วยกันทั้งสิ้น[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ผศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์. ระบบวิทยา และ วงศ์วานวิวัฒนาการ (Systematics and Phylogeny) -- กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  2. Woese, Carl, The universal ancestor, Procedings of the National Academy of Sciences, Vol. 95, Issue 12, 6854-6859, June 9, 1998, http://www.pnas.org/cgi/content/full/95/12/6854