ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำบลนางบวช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rsu dermbang (คุย | ส่วนร่วม)
Rsu dermbang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
===ภาษา===
===ภาษา===
ภาษาที่ชาวบ้านแถวนี้ใช้กัน คือ ภาษาไทยกลาง แต่ สำเนียงการพูด จะแตกต่างกันไปบ้าง
ภาษาที่ชาวบ้านแถวนี้ใช้กัน คือ ภาษาไทยกลาง แต่ สำเนียงการพูด จะแตกต่างกันไปบ้าง

===ศาสนา===
===ศาสนา===
ชาวบ้านในบริเวณนี้จะนับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก แต่ก็มีชาวบ้านบางส่วนนับถือศาสนาอิสลาม


===การศึกษา===
===การศึกษา===
เนื่องจากส่วนใหญ่ ประชากรที่นี่อยู่ใน[[วัยชรา]] การศึกษาที่นี่จึงไม่ค่อยมากนัก แต่ก็มีบางส่วนได้รับการศึกษาในระดับสูง ที่นี่มี[[โรงเรียน]]เพื่อถ่ายทอดการศึกษาให้แก่นักเรียน จนจบ[[มัธยมศึกษา]]ปีที่ 6


==วิถีการดำเนินชีวิต==
==วิถีการดำเนินชีวิต==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:33, 26 พฤศจิกายน 2552

ตำบลนางบวช

เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี

ลักษณะเด่นชุมชนนางบวช

ภาพรวมชุมชน

ชาวบ้านนิยมสร้างบ้านติดแม่น้ำ และอาชีพส่วนใหญ่คือเกษตรกร ลักษณะบ้านที่อยู่เป็นบ้านยกใต้ถุนสูง และจะมีโอ่งน้ำที่บ้าน

ประวัติชุมชน

ราวปีพ.ศ.1826 มีหญิงชื่อว่าชบา เป็นสนมแห่งพระร่วงเจ้า กรุงสุโขทัย เกิดความเบื่อหน่ายในเพศฆารวาส จึงหนีออกบวชและมาอาศัยอยู่ในถ้ำบริเวณเขาในบริเวณนี้ คนทั้งหลายจึงเรียกว่าเขานางบวช ชุมชนนี้เป็นชุมชนเกษตรกรรมมาแต่ดั้งแต่เดิมเนื่องจากมีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่านเหมาะแก่การทำการเกษตร

ประเพณี และวัฒนธรรม

ทุกปีจะมีพิธีตักบาตรเทโว บริเวณวัดเขานางบวช ซึ่งเป็นพิธีทำบุญของชาวไทยในเทศกาลออกพรรษา งานเริ่มหลังจากวันออกพรรษา ๑ วัน คือ แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๑

สัญลักษณ์ชุมชน

พระอาจารย์ธรรมโชติเป็นพระที่มีชื่อเสียงในตำบลนางบวช อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี

รูปปั้นพระอาจารย์ธรรมโชติ ณ วัดเขานางบวช

ภูมิศาสตร์

พื้นที่โดยมากเป็นที่ราบลุ่ม และมีภูเขาบ้างเพียงเล็กน้อย มีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่าน

การคมนาคม

สามารถเดินทางได้ทั้งทางรถ และทางเรือ แต่ปัจจุบันนี้ไม่นิยมเดินทางโดยเรือ เนื่องจากมีถนนทุกหมู่บ้าน

ทรัพยากร

ทรัพยากรที่สำคัญของตำบลนางบวชแห่งนี้ คือ ที่นาและแม่น้ำท่าจีน

จำนวนประชากร

เพศชาย 900 คน เพศหญิง 900 คน คน คนส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่และวัยชรา

ภาษา

ภาษาที่ชาวบ้านแถวนี้ใช้กัน คือ ภาษาไทยกลาง แต่ สำเนียงการพูด จะแตกต่างกันไปบ้าง

ศาสนา

ชาวบ้านในบริเวณนี้จะนับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก แต่ก็มีชาวบ้านบางส่วนนับถือศาสนาอิสลาม

การศึกษา

เนื่องจากส่วนใหญ่ ประชากรที่นี่อยู่ในวัยชรา การศึกษาที่นี่จึงไม่ค่อยมากนัก แต่ก็มีบางส่วนได้รับการศึกษาในระดับสูง ที่นี่มีโรงเรียนเพื่อถ่ายทอดการศึกษาให้แก่นักเรียน จนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6

วิถีการดำเนินชีวิต

วิถีชีวิต(way of life)

รูปแบบสถาปัตยกรรมชุมชน