ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Moon transit of sun large.ogg|thumb|ดวงจันทร์เคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์ จับภาพได้ขณะทำการปรับแต่งกล้องถ่ายภาพอัลตราไวโอเลตของยานอวกาศ [[STEREO]] ภาพของดวงจันทร์ดูเล็กกว่าที่เห็นบนโลกมาก เพราะระยะห่างระหว่างยานกับดวงจันทร์ไกลกว่าระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์มาก]]
[[ไฟล์:Moon transit of sun large.ogg|thumb|300px|ดวงจันทร์เคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์ จับภาพได้ขณะทำการปรับแต่งกล้องถ่ายภาพอัลตราไวโอเลตของยานอวกาศ [[STEREO]] ภาพของดวงจันทร์ดูเล็กกว่าที่เห็นบนโลกมาก เพราะระยะห่างระหว่างยานกับดวงจันทร์ไกลกว่าระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์มาก]]


'''การเคลื่อนผ่าน''' หรือ '''การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์''' มีความหมายในทาง[[ดาราศาสตร์]]อยู่ 3 แบบ คือ
'''การเคลื่อนผ่าน''' หรือ '''การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์''' มีความหมายในทาง[[ดาราศาสตร์]]อยู่ 3 แบบ คือ
บรรทัด 10: บรรทัด 10:


== คำจำกัดความ ==
== คำจำกัดความ ==
[[ไฟล์:Jupiter-io-transit_feb_10_2009.gif|thumb|ภาพจำลอง ดวงจันทร์ไอโอเคลื่อนผ่านหน้าดาวพฤหัสบดีเมื่อมองจากโลก มองเห็นเงาของไอโออยู่บนพื้นผิวของดาวพฤหัสบดี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าไอโอ ดวงอาทิตย์ และโลก ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกัน]]
[[ไฟล์:Jupiter-io-transit_feb_10_2009.gif|thumb|A simulation Io transiting Jupiter as seen from the Earth. Io's shadow is seen on the surface of Jupiter, leading Io slightly due to the sun and earth not being in the same line.]]
[[Image:Saturn system transits.jpg|thumb|[[ดวงจันทร์ดีโอเน]] เคลื่อนผ่านหน้า[[ดวงจันทร์ไททัน]] เมื่อมองจากยานสำรวจแคสสินี ทางด้านหลังมองเห็น[[ดวงจันทร์โพรมิธูส]]ถูก[[วงแหวนของดาวเสาร์]]บดบัง]]


คำว่า "เคลื่อนผ่าน" ใช้กับกรณีที่วัตถุซึ่งอยู่ใกล้กว่า ปรากฏในรูปทรงที่เล็กกว่าวัตถุด้านหลังซึ่งอยู่ไกลกว่า ถ้าเป็นกรณีที่วัตถุใกล้กว่าแต่ปรากฏในรูปทรงที่ใหญ่กว่าและบดบังวัตถุด้านหลังซึ่งอยู่ไกลกว่า จะเรียกว่า [[occultation]]
คำว่า "เคลื่อนผ่าน" ใช้กับกรณีที่วัตถุซึ่งอยู่ใกล้กว่า ปรากฏในรูปทรงที่เล็กกว่าวัตถุด้านหลังซึ่งอยู่ไกลกว่า ถ้าเป็นกรณีที่วัตถุใกล้กว่าแต่ปรากฏในรูปทรงที่ใหญ่กว่าและบดบังวัตถุด้านหลังซึ่งอยู่ไกลกว่า จะเรียกว่า [[occultation]]
บรรทัด 17: บรรทัด 18:


[[Image:Io transit.jpg|left|thumb|[[ดวงจันทร์ไอโอ]] เคลื่อนผ่านหน้า[[ดาวพฤหัสบดี]] มองจาก[[ยานอวกาศแคสสินี-ฮอยเกนส์|ยานอวกาศแคสสินี]]]]
[[Image:Io transit.jpg|left|thumb|[[ดวงจันทร์ไอโอ]] เคลื่อนผ่านหน้า[[ดาวพฤหัสบดี]] มองจาก[[ยานอวกาศแคสสินี-ฮอยเกนส์|ยานอวกาศแคสสินี]]]]
[[Image:Saturn system transits.jpg|right|thumb|300px|[[ดวงจันทร์ดีโอเน]] เคลื่อนผ่านหน้า[[ดวงจันทร์ไททัน]] เมื่อมองจากยานสำรวจแคสสินี ทางด้านหลังมองเห็น[[ดวงจันทร์โพรมิธูส]]ถูก[[วงแหวนของดาวเสาร์]]บดบัง]]


คำนี้ยังใช้กับกรณีที่[[ดาวบริวาร]]เคลื่อนที่ผ่านหน้าดาวแม่ของมัน ตัวอย่างเช่น หนึ่งในดวงจันทร์กาลิเลียน (ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคาลลิสโต) เคลื่อนที่ผ่านหน้า[[ดาวพฤหัสบดี]] เมื่อมองจากบนโลก
คำนี้ยังใช้กับกรณีที่[[ดาวบริวาร]]เคลื่อนที่ผ่านหน้าดาวแม่ของมัน ตัวอย่างเช่น หนึ่งในดวงจันทร์กาลิเลียน (ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคาลลิสโต) เคลื่อนที่ผ่านหน้า[[ดาวพฤหัสบดี]] เมื่อมองจากบนโลก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:25, 11 ตุลาคม 2552

ดวงจันทร์เคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์ จับภาพได้ขณะทำการปรับแต่งกล้องถ่ายภาพอัลตราไวโอเลตของยานอวกาศ STEREO ภาพของดวงจันทร์ดูเล็กกว่าที่เห็นบนโลกมาก เพราะระยะห่างระหว่างยานกับดวงจันทร์ไกลกว่าระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์มาก

การเคลื่อนผ่าน หรือ การเคลื่อนผ่านทางดาราศาสตร์ มีความหมายในทางดาราศาสตร์อยู่ 3 แบบ คือ

  • การเคลื่อนผ่าน ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุท้องฟ้าชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ผ่านหน้าพื้นผิวของวัตถุท้องฟ้าอีกชิ้นหนึ่ง เมื่อมองจากผู้สังเกตการณ์ ณ จุดสังเกตเฉพาะแห่งหนึ่ง
  • การเคลื่อนผ่าน ที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุท้องฟ้าผ่านเส้นเมอริเดียน เมื่อเทียบกับการหมุนของโลก ซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางระหว่างการขึ้นกับการตก ตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านเส้นเมอริเดียนที่จุดเที่ยงวัน การสังเกตการเคลื่อนผ่านเส้นเมอริเดียนเคยมีความสำคัญอย่างมากในอดีตสำหรับใช้ตรวจสอบเวลา
  • การเคลื่อนผ่านของดาว (star transit) ซึ่งใช้หมายถึงเส้นทางของดาวฤกษ์เมื่อมองผ่านกล้องโทรทรรศน์ การสังเกตระดับและเวลาที่แม่นยำช่วยให้สามารถระบุตำแหน่งของดาวฤกษ์ หรือบอกถึงตำแหน่งท้องถิ่นในแนวดิ่งบนโลก (ลองจิจูด) ได้

สำหรับบทความนี้ จะหมายความถึงการเคลื่อนผ่านในความหมายแรก

คำจำกัดความ

ภาพจำลอง ดวงจันทร์ไอโอเคลื่อนผ่านหน้าดาวพฤหัสบดีเมื่อมองจากโลก มองเห็นเงาของไอโออยู่บนพื้นผิวของดาวพฤหัสบดี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าไอโอ ดวงอาทิตย์ และโลก ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกัน
ดวงจันทร์ดีโอเน เคลื่อนผ่านหน้าดวงจันทร์ไททัน เมื่อมองจากยานสำรวจแคสสินี ทางด้านหลังมองเห็นดวงจันทร์โพรมิธูสถูกวงแหวนของดาวเสาร์บดบัง

คำว่า "เคลื่อนผ่าน" ใช้กับกรณีที่วัตถุซึ่งอยู่ใกล้กว่า ปรากฏในรูปทรงที่เล็กกว่าวัตถุด้านหลังซึ่งอยู่ไกลกว่า ถ้าเป็นกรณีที่วัตถุใกล้กว่าแต่ปรากฏในรูปทรงที่ใหญ่กว่าและบดบังวัตถุด้านหลังซึ่งอยู่ไกลกว่า จะเรียกว่า occultation

ตัวอย่างหนึ่งของการเคลื่อนผ่าน คือการที่ดาวเคราะห์เคลื่อนที่อยู่ระหว่างผู้สังเกตการณ์บนโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งจะเกิดขึ้นกับดาวเคราะห์ชั้นในของระบบสุริยะที่อยู่ใกล้กว่าโลก คือ ดาวพุธและดาวศุกร์เท่านั้น (ดูเพิ่มที่ ดาวพุธผ่านหน้าดวงอาทิตย์ และ ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์) สำหรับกรณีดาวเคราะห์ที่อยู่รอบนอก เช่น ดาวอังคาร สามารถมองเห็นโลกเคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์ จากบนดาวอังคารได้เหมือนกัน

ไฟล์:Io transit.jpg
ดวงจันทร์ไอโอ เคลื่อนผ่านหน้าดาวพฤหัสบดี มองจากยานอวกาศแคสสินี

คำนี้ยังใช้กับกรณีที่ดาวบริวารเคลื่อนที่ผ่านหน้าดาวแม่ของมัน ตัวอย่างเช่น หนึ่งในดวงจันทร์กาลิเลียน (ไอโอ, ยูโรปา, แกนีมีด และคาลลิสโต) เคลื่อนที่ผ่านหน้าดาวพฤหัสบดี เมื่อมองจากบนโลก

การเคลื่อนผ่าน จะต้องมีวัตถุ 3 ชิ้นเรียงกันอยู่ในแนวเดียวกัน นานๆ ครั้งจึงจะพบกรณีที่มีวัตถุถึง 4 ชิ้นเรียงกัน ครั้งล่าสุดที่มีการเรียงตัวของวัตถุ 4 ชิ้นเกิดขึ้นเมื่อ 27 เมษายน ค.ศ. 1586 เมื่อดาวพุธเคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์เมื่อมองจากดาวศุกร์ ขณะเดียวกันกับที่ดาวพุธและดาวศุกร์เคลื่อนผ่านหน้าดวงอาทิตย์เมื่อมองจากดาวเสาร์ด้วย

การสำรวจดาวเคราะห์นอกระบบในช่วงหลายปีที่ผ่านมานี้ ได้สร้างความน่าสนใจแก่ความเป็นไปได้ในการตรวจจับการเคลื่อนผ่านของดาวเคราะห์เหล่านั้นผ่านหน้าดาวฤกษ์แม่ของตนเอง โดยที่ HD 209458b เป็นดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่มีการตรวจพบการเคลื่อนผ่านในลักษณะดังกล่าว

แหล่งข้อมูลอื่น