ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เท็นริเกียว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ศาสนาเทนรีเคียว''' เน้นความคิดและการปฏิบัติเพื่อละจากความยึดในตัวตนอันเป็นมายา หรือการสร้างพิธีกรรมที่ต้องการร่วมใจกัน เช่น การร่ายรำร้องเพลง การสวด '''ซึ่งช่วยสลายความเป็นปัจเจกชน'''และเอื้อให้เกิดการยอมรับตัวตนใหม่ทาง[[ศาสนา]]ได้ง่ายขึ้น
'''ศาสนาเทนริเกียว''' เน้นความคิดและการปฏิบัติเพื่อละจากความยึดในตัวตนอันเป็นมายา หรือการสร้างพิธีกรรมที่ต้องการร่วมใจกัน เช่น การร่ายรำร้องเพลง การสวด '''ซึ่งช่วยสลายความเป็นปัจเจกชน'''และเอื้อให้เกิดการยอมรับตัวตนใหม่ทาง[[ศาสนา]]ได้ง่ายขึ้น
{{โครงศาสนา}}
{{โครงศาสนา}}
'''เทนรีเคียว''' ถูกจัดให้อยู่ในเรียวหะชินโต เรียกว่าเป็นชินโตของประชาชน และจากประวัติศาสตร์ที่ปรากฎมานั้น มีหลายครั้งหลายคราวที่ศาสดาของเทนรีเคียวได้รับการต่อต้านจากทางรัฐบาลในสมัยนั้น แต่ด้วยความอดทนของศาสดาที่มุ่งมั่นจะเผยแผ่ศาสนาและทำตามพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า เทนรีเคียวจึงสามารถดำรงคงอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้ เป็นเวลากว่า 170 ปีมาแล้ว
'''ศาสนาเทนรีเคียว''' ถูกจัดให้อยู่ในเรียวหะชินโต เรียกว่าเป็นชินโตของประชาชน และจากประวัติศาสตร์ที่ปรากฎมานั้น มีหลายครั้งหลายคราวที่ศาสดาของเทนรีเคียวได้รับการต่อต้านจากทางรัฐบาลในสมัยนั้น แต่ด้วยความอดทนของศาสดาที่มุ่งมั่นจะเผยแผ่ศาสนาและทำตามพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า เทนรีเคียวจึงสามารถดำรงคงอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้ เป็นเวลากว่า 170 ปีมาแล้ว
พระผู้เป็นเจ้าในเทนรีเคียวมีพระนามว่า “โอะยะงะมิ” (โอะยะ แปลว่า Parent หรือ พ่อแม่, คะมิหรืองะมิ แปลว่า พระผู้เป็นเจ้า) ด้วยความที่พระผู้เป็นเจ้านั้นเปรียบเหมือนพ่อแม่ของมวลมนุษย์ จึงเรียกพระองค์ว่า พระผู้เป็นเจ้าโอะยะงะมิ และด้วยความที่มนุษย์นั้นสรรเสริญพระบารมีของพระองค์ พวกเขาเหล่านั้นจึงถวายนามถึงพระองค์และภาวนาถึงพระองค์ว่า “เทนรีโอ-โนะ มิโคะโตะ”
พระผู้เป็นเจ้าในเทนรีเคียวมีพระนามว่า “โอะยะงะมิ” (โอะยะ แปลว่า Parent หรือ พ่อแม่, คะมิหรืองะมิ แปลว่า พระผู้เป็นเจ้า) ด้วยความที่พระผู้เป็นเจ้านั้นเปรียบเหมือนพ่อแม่ของมวลมนุษย์ จึงเรียกพระองค์ว่า พระผู้เป็นเจ้าโอะยะงะมิ และด้วยความที่มนุษย์นั้นสรรเสริญพระบารมีของพระองค์ พวกเขาเหล่านั้นจึงถวายนามถึงพระองค์และภาวนาถึงพระองค์ว่า “เทนรีโอ-โนะ มิโคะโตะ”
ส่วนศาสดาของเทนรีเคียวมีพระนามเดิมว่า “มิคิ นะคะยะมะ” แต่หลังจากที่พระผู้เป็นเจ้าได้อวตารลงมาและได้ใช้สังขารของนาง มิคิ เป็นที่ประทับ เพื่อเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับการสร้างโลก และสอนวิธีที่จะนำเราไปสู่ชีวิตอันผาสุกเบิกบานใจ เราจึงเรียกท่านว่า “โอะยะซะมะ” (โอะยะ แปลว่า ผู้ให้กำเนิด (พ่อแม่), ซะมะ แปลว่า พระ-, เจ้า- หรือ ท่าน)
ส่วนศาสดาของเทนรีเคียวมีพระนามเดิมว่า “มิคิ นะคะยะมะ” แต่หลังจากที่พระผู้เป็นเจ้าได้อวตารลงมาและได้ใช้สังขารของนาง มิคิ เป็นที่ประทับ เพื่อเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับการสร้างโลก และสอนวิธีที่จะนำเราไปสู่ชีวิตอันผาสุกเบิกบานใจ เราจึงเรียกท่านว่า “โอะยะซะมะ” (โอะยะ แปลว่า ผู้ให้กำเนิด (พ่อแม่), ซะมะ แปลว่า พระ-, เจ้า- หรือ ท่าน)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:29, 27 สิงหาคม 2552

ศาสนาเทนริเกียว เน้นความคิดและการปฏิบัติเพื่อละจากความยึดในตัวตนอันเป็นมายา หรือการสร้างพิธีกรรมที่ต้องการร่วมใจกัน เช่น การร่ายรำร้องเพลง การสวด ซึ่งช่วยสลายความเป็นปัจเจกชนและเอื้อให้เกิดการยอมรับตัวตนใหม่ทางศาสนาได้ง่ายขึ้น

ศาสนาเทนรีเคียว ถูกจัดให้อยู่ในเรียวหะชินโต เรียกว่าเป็นชินโตของประชาชน และจากประวัติศาสตร์ที่ปรากฎมานั้น มีหลายครั้งหลายคราวที่ศาสดาของเทนรีเคียวได้รับการต่อต้านจากทางรัฐบาลในสมัยนั้น แต่ด้วยความอดทนของศาสดาที่มุ่งมั่นจะเผยแผ่ศาสนาและทำตามพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า เทนรีเคียวจึงสามารถดำรงคงอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้ เป็นเวลากว่า 170 ปีมาแล้ว พระผู้เป็นเจ้าในเทนรีเคียวมีพระนามว่า “โอะยะงะมิ” (โอะยะ แปลว่า Parent หรือ พ่อแม่, คะมิหรืองะมิ แปลว่า พระผู้เป็นเจ้า) ด้วยความที่พระผู้เป็นเจ้านั้นเปรียบเหมือนพ่อแม่ของมวลมนุษย์ จึงเรียกพระองค์ว่า พระผู้เป็นเจ้าโอะยะงะมิ และด้วยความที่มนุษย์นั้นสรรเสริญพระบารมีของพระองค์ พวกเขาเหล่านั้นจึงถวายนามถึงพระองค์และภาวนาถึงพระองค์ว่า “เทนรีโอ-โนะ มิโคะโตะ” ส่วนศาสดาของเทนรีเคียวมีพระนามเดิมว่า “มิคิ นะคะยะมะ” แต่หลังจากที่พระผู้เป็นเจ้าได้อวตารลงมาและได้ใช้สังขารของนาง มิคิ เป็นที่ประทับ เพื่อเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับการสร้างโลก และสอนวิธีที่จะนำเราไปสู่ชีวิตอันผาสุกเบิกบานใจ เราจึงเรียกท่านว่า “โอะยะซะมะ” (โอะยะ แปลว่า ผู้ให้กำเนิด (พ่อแม่), ซะมะ แปลว่า พระ-, เจ้า- หรือ ท่าน) จุดมุ่งหมายสูงสุดของเทนรีเคียว คือ “การดำรงชีวิตอันผาสุกเบิกบานใจ” จากคำสอนของเทนรีเคียวที่เชื่อว่าร่างกายของคนเราเป็นสิ่งที่ขอยืมมาจากพระผู้เป็นเจ้า ดังนั้นการดำรงชีวิตในทุกๆ วันของผู้ที่นับถือเทนรีเคียว จึงเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า ในการที่จะดำรงชีวิตอันผาสุกเบิกบานใจ ภายใต้ร่างกายที่ได้รับการให้ยืมมา หรือขอยืมมาจากพระผู้เป็นเจ้าโอะยะงะมิและได้รับพรพิทักษ์คุ้มครองจากพระองค์