ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เดอะมาสเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pearbear (คุย | ส่วนร่วม)
Pearbear (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 81: บรรทัด 81:
<br/>
<br/>
=== สัปดาห์ที่ 2 ธีม Rock Tree : [[ชาตรี คงสุวรรณ|โอม ชาตรี คงสุวรรณ]] ===
=== สัปดาห์ที่ 2 ธีม Rock Tree : [[ชาตรี คงสุวรรณ|โอม ชาตรี คงสุวรรณ]] ===
* ทีม '''M1''' : Rock Tree M1
* ทีม '''M1''' : '''"Rock Tree M1"'''
# เพลง "ลูกผู้ชายไม่หวั่นไหว" (รวม)
# เพลง "ลูกผู้ชายไม่หวั่นไหว" (รวม)
# เพลง "สักวัน" (มิวสิค , ต้อล)
# เพลง "สักวัน" (มิวสิค , ต้อล)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:00, 26 กรกฎาคม 2552

เดอะมาสเตอร์
เสนอโดยเศรษฐา ศิระฉายา
ประเทศแหล่งกำเนิดประเทศไทย ประเทศไทย
จำนวนฤดูกาล1
จำนวนตอนฤดูกาลที่ 1 : 4 สัปดาห์
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิตอรรถพล ณ บางช้าง
สถานที่ถ่ายทำโครงการบ้านแมกโนเลียส์

ธันเดอร์โดม เมืองทองธานี
(คอนเสิร์ตสัปดาห์ที่ 1-3)

อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี
(คอนเสิร์ตสัปดาห์ที่ 4)
ความยาวตอน- ทุกวัน : 24 ชั่วโมง
- คอนเสิร์ตทุกวันเสาร์ :
3 ชั่วโมง
ออกอากาศ
เครือข่ายทรูวิชั่นส์ ช่อง 18
(ถ่ายทอดสดตลอด 24 ชั่วโมง)


ทรู อินไซด์
(คอนเสิร์ตวันเสาร์ & ไฮไลท์ประจำวัน)
ออกอากาศ23 กุมภาพันธ์ –
21 มีนาคม พ.ศ. 2552
การแสดงที่เกี่ยวข้อง
ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย

รูปแบบรายการ

The Master [1]เป็นรายการ เรียลลิตี้โชว์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 กุมภาพันธ์ - 21 มีนาคม พ.ศ. 2552 เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ออกอากาศ 24 ชั่วโมงทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 18 และมีรายการไฮไลท์ประจำวัน และคอนเสิร์ตทุกวันเสาร์ที่ช่อง 19 ทรูอินไซด์ ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2552 รูปแบบรายการเป็นการแข่งขันร้องเพลงและแสดงโชว์ แข่งขันเป็นทีม ทีมละ 5 คน โดยผู้เข้าแข่งขันมาจากตำแหน่งผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศอันดับหนึ่งของ รายการ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ตั้งแต่ฤดูกาลที่ 1-5 ซึ่งได้แก่

จากนั้นได้มีการเปิดโอกาสโหวตคัดเลือกผู้แข่งขันเพิ่มเติม ซึ่งเป็นนักล่าฝันรุ่น 1-5 ที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุดผ่านระบบ SMS 5 อันดับแรก[2] และ นักล่าฝันที่ได้รับโอกาสเข้าสู่รายการ เดอะ มาสเตอร์ ได้แก่

รูปแบบรายการจะนำเสนอในรูปเบบของการทำงานเบื้องหลังของศิลปิน ผู้เข้าแข่งขันจะต้องใช้ประสบการณ์ในการทำงาน คิดและวางแผนโชว์ที่จะเกิดขึ้นในทุกคืนวันเสาร์ โดยโจทย์เพลงที่ได้รับแต่ละสัปดาห์ จะเป็นบทเพลงยอดนิยมของศิลปินระดับมืออาชีพของวงการเพลงไทย และจะมีการทำอัลบั้มเพลงจำลองในรูปแบบของตนเองร่วมกับทีมงานเบื้องหลัง อีกทั้งจะมีการวัดผลความนิยมของปกอัลบั้มเพลงที่ได้ร่วมกันออกแบบในทุกสัปดาห์ ผ่านการลงคะแนนเสียงของผู้ชมผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนหน้าบริเวณคอนเสิร์ต ซึ่งคะแนนในส่วนนี้จะประกอบการตัดสินควบคู่กับคะแนนโหวตผ่านระบบ SMS ของผู้ชมรายการทั้งหมดด้วย [3]

สมาชิกแต่ละทีม


โจทย์เพลง


ผลการแข่งขัน

สัปดาห์ที่ 1 ถึง 3 : แข่งขันรายทีม

ทีม ผู้เข้าแข่งขัน สัปดาห์ที่
1 2 3
M1 วิทย์ AF1 - พชรพล จั่นเที่ยง
ตุ้ย AF3 - เกียรติกมล ล่าทา
ต้อล AF4 - วันธงชัย อินทรวัตร
มิวสิค AF4 - รัชพล แย้มแสง
ตี๋ AF4 - วิวิศน์ บวรกีรติขจร
     
M2 นัท AF4 - ณัฐ ศักดาทร
จีน AF1 - ธัญนันท์ มหาพิรุณ
ต้า AF3 - สักกทัศน์ กุลไพศาล
รอน AF5 - ภัทรภณ โตอุ่น
โบว์ AF5 - สาวิตรี สุทธิชานนท์
    ออก
M3 พัด AF2 - พัดชา เอนกอายุวัฒน์
อ๊อฟ AF2 - ศุภณัฐ เฉลิมชัยเจริญกิจ
พาส AF2 - พาสนา ทองบุญเรือง
พะแพง AF4 - ศุภรดา เต็มปรีชา
นัท AF5 - ณัฎฐ์ ทิวไผ่งาม
  ออก


หมายเหตุ :

  • สัปดาห์ที่ 1 - ทีม M3 ได้รับคะแนนโหวตรวมน้อยที่สุดแต่ไม่ถูกคัดออก ได้รับบทลงโทษ เป็นการ"ติดลบคะแนน 10 เปอร์เซ็นต์" ในสัปดาห์ถัดไปแทน [4] ซึ่งส่งผลให้สัปดาห์ถัดไปนั้น ผลโหวตของทีม M3 ไม่สามารถทำให้ผ่านเข้ารอบได้ ท่ามกลางการแสดงที่ประทับใจต่อผู้ชมในสัปดาห์นั้น
  • สัปดาห์ที่ 3 - ทีม M2 ได้ัรับคะแนนโหวตรวมทั้ง 2 ช่องทางมากที่สุด แต่ในคอนเสิร์ตครั้งนี้ได้มีเซอร์ไพรส์โดยกรรมการมีสิทธิ์ที่จะลงคะแนน ให้กับการแสดงที่ชื่นชอบมากที่สุด คะแนนจากส่วนนี้จะนำไป "คูณสองกับคะแนนปกอัลบั้ม" ที่ได้รวบรวมคะแนนไว้แล้ว ซึ่งกรรมการได้มีมติให้ทีม M1 ได้คะแนนส่วนนี้ไปครอง ทำให้ึคะแนนรวมทั้งคะแนนปก กรรมการ และผลโหวตทาง SMS ส่งผลให้ ทีม M1 ได้รับชัยชนะไปครองในครั้งนี้ [5]


สัปดาห์ที่ 4 : *รอบชิงชนะเลิศ* แข่งขันรายบุคคล

รหัส ชื่อ ผลรางวัล
M1 ตี๋ AF4 - วิวิศน์ บวรกีรติขจร รองชนะเลิศอันดับ 2
M2 วิทย์ AF1 - พชรพล จั่นเที่ยง รองชนะเลิศอันดับ 4
M3 มิวสิค AF4 - รัชพล แย้มแสง รองชนะเลิศอันดับ 3
M4 ต้อล AF4 - วันธงชัย อินทรวัตร ชนะเลิศ
M5 ตุ้ย AF3 - เกียรติกมล ล่าทา รองชนะเลิศอันดับ 1


อ้างอิง


แหล่งข้อมูลอื่น