ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bangkokian_museum01.jpg|thumb|ป้ายทางเข้าพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก]]
[[ไฟล์:Bangkokian_museum01.jpg|thumb|ป้ายทางเข้าพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก]]
'''พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร''' เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 273 [[ซอยเจริญกรุง]] 43 [[ถนนเจริญกรุง]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10500 เป็น[[พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น]]ที่ก่อตั้งโดยเอกชน โดยเจ้าของบ้านมีวัตถุประสงค์ที่จะมอบบ้านของตนให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา และต่อมาได้โอนกรรมสิทธิ์ให้[[กรุงเทพมหานคร]]ดูแล เมื่อ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2547]] ทำเลที่ตั้งเป็นย่านพักอาศัยของชุมชนชาวบางรัก ซึ่งในอดีตเป็นย่านตากอากาศ ชุมชนนานาชาติ และทำเลธุรกิจที่สำคัญมาตั้งแต่ปลาย[[สมัยอยุธยา]] เนื้อหาในการจัดแสดงจึงแสดงให้เห็นถึงประวัติความเป็นมาของชีวิตชาวบางกอก (กรุงเทพฯ ในยุคก่อน) และความเป็นมาของเขตบางรักที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมหลายชนชาติ ทั้งไทย จีน ฝรั่ง และแขก มีวิวัฒนาการและอิทธิพลจากตะวันตกต่อการปฏิรูปประเทศ สถานที่ต่างๆซึ่งเกี่ยวกับภูมิหลังของชุมชน เช่น [[กุศลสถาน]] [[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]] [[โบสถ์สืบสัมพันธวงศ์]] [[โรงพยาบาลเลิดสิน]] [[วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร]] [[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] [[โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน]] [[แฟลต]]แห่งแรกของไทย และสโมสรแห่งแรกในไทย ในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] เป็นย่านที่พำนักของบุคคลสำคัญ เช่น [[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] [[ป๋วย อึ้งภากรณ์|ดร.ป๋วย อึ้งภากรณ์]] [[สุลักษณ์ ศิวรักษ์|อ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์]] เป็นต้น
'''พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก''' กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 273 [[ซอยเจริญกรุง]] 43 [[ถนนเจริญกรุง]] [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10500 เป็น[[พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น]]ที่ก่อตั้งโดยเอกชน โดยเจ้าของบ้านมีวัตถุประสงค์ที่จะมอบบ้านของตนให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา และต่อมาได้โอนกรรมสิทธิ์ให้[[กรุงเทพมหานคร]]ดูแล เมื่อ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2547]] ทำเลที่ตั้งเป็นย่านพักอาศัยของชุมชนชาวบางรัก ซึ่งในอดีตเป็นย่านตากอากาศ ชุมชนนานาชาติ และทำเลธุรกิจที่สำคัญมาตั้งแต่ปลาย[[สมัยอยุธยา]] เนื้อหาในการจัดแสดงจึงแสดงให้เห็นถึงประวัติความเป็นมาของชีวิตชาวบางกอก (กรุงเทพฯ ในยุคก่อน) และความเป็นมาของเขตบางรักที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมหลายชนชาติ ทั้งไทย จีน ฝรั่ง และแขก มีวิวัฒนาการและอิทธิพลจากตะวันตกต่อการปฏิรูปประเทศ สถานที่ต่างๆซึ่งเกี่ยวกับภูมิหลังของชุมชน เช่น [[กุศลสถาน]] [[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]] [[โบสถ์สืบสัมพันธวงศ์]] [[โรงพยาบาลเลิดสิน]] [[วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร]] [[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] [[โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน]] [[แฟลต]]แห่งแรกของไทย และสโมสรแห่งแรกในไทย ในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] เป็นย่านที่พำนักของบุคคลสำคัญ เช่น [[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] [[ป๋วย อึ้งภากรณ์|ดร.ป๋วย อึ้งภากรณ์]] [[สุลักษณ์ ศิวรักษ์|อ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์]] เป็นต้น




บรรทัด 23: บรรทัด 23:
# อาคารหลังที่ 3 ใช้เป็นที่จัดแสดงนิทรรศการภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
# อาคารหลังที่ 3 ใช้เป็นที่จัดแสดงนิทรรศการภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
# อาคารหลังที่ 4 เป็นบ้านไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง ใช้เป็นห้องสมุดในปัจจุบัน
# อาคารหลังที่ 4 เป็นบ้านไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง ใช้เป็นห้องสมุดในปัจจุบัน
มีเนื้อหาการจัดแสดงดังนี้
* ภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
* ลักษณะทางกายภาพเขตบางรัก
* สายสัมพันธ์ไทย-ตะวันตก
* อิทธิพลชาติตะวันตกต่อประเทศไทย
* ชุมชนนานาชาติ
* บทบาทของชุมชนตะวันตกที่มีต่อการปฏิรูปประเทศ
* สถานที่สำคัญของบางรัก
* แรกมีในสยาม แรกมีในบางรัก
* คนเด่นบางรัก


== รายละเอียดอื่นๆ ==
== รายละเอียดอื่นๆ ==
บรรทัด 30: บรรทัด 40:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* [http://203.155.220.217/localmuseum/website/08/info.html เว็บไซต์ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก]
* แผ่นพับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก
* แผ่นพับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก
* เอกสารชุดความรู้ชุมชนบางรัก พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก
* เอกสารชุดความรู้ชุมชนบางรัก พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:34, 2 กรกฎาคม 2552

ป้ายทางเข้าพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก

พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 273 ซอยเจริญกรุง 43 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 เป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่ก่อตั้งโดยเอกชน โดยเจ้าของบ้านมีวัตถุประสงค์ที่จะมอบบ้านของตนให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา และต่อมาได้โอนกรรมสิทธิ์ให้กรุงเทพมหานครดูแล เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ทำเลที่ตั้งเป็นย่านพักอาศัยของชุมชนชาวบางรัก ซึ่งในอดีตเป็นย่านตากอากาศ ชุมชนนานาชาติ และทำเลธุรกิจที่สำคัญมาตั้งแต่ปลายสมัยอยุธยา เนื้อหาในการจัดแสดงจึงแสดงให้เห็นถึงประวัติความเป็นมาของชีวิตชาวบางกอก (กรุงเทพฯ ในยุคก่อน) และความเป็นมาของเขตบางรักที่มีการผสมผสานวัฒนธรรมหลายชนชาติ ทั้งไทย จีน ฝรั่ง และแขก มีวิวัฒนาการและอิทธิพลจากตะวันตกต่อการปฏิรูปประเทศ สถานที่ต่างๆซึ่งเกี่ยวกับภูมิหลังของชุมชน เช่น กุศลสถาน อาสนวิหารอัสสัมชัญ โบสถ์สืบสัมพันธวงศ์ โรงพยาบาลเลิดสิน วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร วัดพระศรีมหาอุมาเทวี โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน แฟลตแห่งแรกของไทย และสโมสรแห่งแรกในไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นย่านที่พำนักของบุคคลสำคัญ เช่น หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดร.ป๋วย อึ้งภากรณ์ อ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์ เป็นต้น


พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก มีลักษณะเป็นบ้านพักอาศัยที่เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ ของชาวบางกอกที่มีฐานะปานกลางในช่วงก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2480-2500) เจ้าของบ้านเดิมคือคุณวราพร สุรวดี ที่ได้รับบ้านและทรัพย์สินตกทอดมาจากมารดา คือ คุณสอาง สุรวดี(ตันบุณเต็ก)

การจัดแสดง

บรรยากาศภายในพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
บรรยากาศอาคารไม้ในพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก

แบ่งออกเป็นอาคาร 4 หลัง และห้องต่างๆดังนี้

  1. อาคารหลังที่ 1 เป็นบ้านไม้หลังคาปั้นหยา
  2. ห้องรับแขก
  3. ห้องอาหาร
  4. ห้องหนังสือ
  5. โถงกลางล่าง
  6. ที่พักบันได
  7. ห้องนอนคุณยาย
  8. ห้องแต่งตัวแบบยุโรป
  9. ห้องบรรพบุรุษ
  10. ห้องนอนใหญ่
  11. อาคารหลังที่ 2 เป็นอาคารไม้ซึ่งได้รื้อย้ายมาจากบ้านหมอฟรานซิส คริสเตียน ที่ทุ่งมหาเมฆมาจัดสร้างที่นี่
  12. อาคารหลังที่ 3 ใช้เป็นที่จัดแสดงนิทรรศการภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
  13. อาคารหลังที่ 4 เป็นบ้านไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง ใช้เป็นห้องสมุดในปัจจุบัน

มีเนื้อหาการจัดแสดงดังนี้

  • ภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
  • ลักษณะทางกายภาพเขตบางรัก
  • สายสัมพันธ์ไทย-ตะวันตก
  • อิทธิพลชาติตะวันตกต่อประเทศไทย
  • ชุมชนนานาชาติ
  • บทบาทของชุมชนตะวันตกที่มีต่อการปฏิรูปประเทศ
  • สถานที่สำคัญของบางรัก
  • แรกมีในสยาม แรกมีในบางรัก
  • คนเด่นบางรัก

รายละเอียดอื่นๆ

พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมได้ฟรี 10.00 - 16.00 น. วันพุธถึงวันอาทิตย์ (หยุดจันทร์และอังคาร)

อ้างอิง