ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะราษฎร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่รายชื่อบางส่วน
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


วัตถุประสงค์ของคณะราษฎรที่ได้ระบุในการประชุมครั้งแรก ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 คือ การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และมีเป้าหมายอีก 6 ประการคือ 1. รักษาความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. ดูแลเรื่องเศรษฐกิจ โดยจัดทำโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ 4. ให้มีความเสมอภาค 5. ให้ราษฎรมีเสรีภาพที่ไม่ขัดต่อหลักการข้างต้น 4 ประการ 6.ดูแลเรื่องการศึกษา
วัตถุประสงค์ของคณะราษฎรที่ได้ระบุในการประชุมครั้งแรก ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 คือ การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และมีเป้าหมายอีก 6 ประการคือ 1. รักษาความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. ดูแลเรื่องเศรษฐกิจ โดยจัดทำโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ 4. ให้มีความเสมอภาค 5. ให้ราษฎรมีเสรีภาพที่ไม่ขัดต่อหลักการข้างต้น 4 ประการ 6.ดูแลเรื่องการศึกษา

==สมาชิกคณะราษฎร==
: ''ดูบทความหลัก [[รายชื่อสมาชิกคณะราษฎร]]''

สมาชิกคณะราษฎรแบ่งเป็นสามสายคือ สายทหารบก สายทหารเรือ สายพลเรือน โดยสมาชิกที่สำคัญในการก่อตั้งคณะราษฎร ในแต่ละสายได้แก่
* '''สายทหารบก''': [[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] (พจน์ พหลโยธิน), [[พระยาทรงสุรเดช]] (เทพ พันธุมเสน), [[พระยาฤทธิอัคเนย์]] (สละ เอมะศิริ), [[พระประศาสน์พิทยายุทธ]] (วัน ชูถิ่น), และ [[หลวงพิบูลสงคราม]] (แปลก ขิตตะสังคะ)
* '''สายทหารเรือ''': [[หลวงสินธุสงครามชัย]], [[หลวงศุภชลาศัย]], [[หลวงสังวรยุทธกิจ]], และ[[หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]]
* '''สายพลเรือน''': [[หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] (ปรีดี พนมยงค์), [[หลวงศิริราชไมตรี]] (จรูญ สิงหเสนี), [[ควง อภัยวงศ์|หลวงโกวิทอภัยวงศ์]] (ควง อภัยวงศ์), [[ตั้ว ลพานุกรม]], [[แนบ พหลโยธิน]], [[ทวี บุณยเกตุ]], และ[[ประยูร ภมรมนตรี]]


==อ่านเพิ่มเติม==
==อ่านเพิ่มเติม==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:10, 22 กรกฎาคม 2549

คณะราษฎร คือกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการปฏิวัติในสมัยรัชกาลที่ 7 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทย จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

สมาชิกของคณะราษฎรมีทั้งสิน 102 คน แบ่งเป็นสามสาย คือ สายทหารบก นำโดย พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา สายทหารเรือ นำโดย น.ต. หลวงสินธุสงครามชัย และสายพลเรือนนำโดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือปรีดี พนมยงค์

วัตถุประสงค์ของคณะราษฎรที่ได้ระบุในการประชุมครั้งแรก ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 คือ การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และมีเป้าหมายอีก 6 ประการคือ 1. รักษาความเป็นเอกราชของประเทศ 2. รักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. ดูแลเรื่องเศรษฐกิจ โดยจัดทำโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ 4. ให้มีความเสมอภาค 5. ให้ราษฎรมีเสรีภาพที่ไม่ขัดต่อหลักการข้างต้น 4 ประการ 6.ดูแลเรื่องการศึกษา

สมาชิกคณะราษฎร

ดูบทความหลัก รายชื่อสมาชิกคณะราษฎร

สมาชิกคณะราษฎรแบ่งเป็นสามสายคือ สายทหารบก สายทหารเรือ สายพลเรือน โดยสมาชิกที่สำคัญในการก่อตั้งคณะราษฎร ในแต่ละสายได้แก่

อ่านเพิ่มเติม

เอกสารอ้างอิง

  • สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ. 1762 - 2500. สำนักพิมพ์เสมาธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. พ.ศ. 2549.