ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การศึกษาภาคบังคับ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 25: บรรทัด 25:


[[cs:Povinná školní docházka]]
[[cs:Povinná školní docházka]]
[[da:Undervisningspligt]]
[[de:Schulpflicht]]
[[de:Schulpflicht]]
[[en:Compulsory education]]
[[en:Compulsory education]]
[[es:Derecho a la educación]]
[[es:Educación obligatoria]]
[[fi:Oppivelvollisuus]]
[[fi:Oppivelvollisuus]]
[[fr:Instruction obligatoire]]
[[fr:Instruction obligatoire]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:30, 10 มิถุนายน 2552

สาธารณะชนใช้เวลาในการศึกษา ในปี พ.ศ. 2548

การศึกษาภาคบังคับ (อังกฤษ: Compulsory education) เป็นกฎหมายกำหนดให้เยาวชนได้รับการศึกษา และภาครัฐจะต้องจัดหาให้ ในประเทศบางประเทศ การศึกษาที่บ้าน อาจเป็นไปอย่างถูกกฎหมาย

การศึกษาภาคบังคับที่โรงเรียนประถมศึกษา ได้ถูกอนุมิตให้เป็นสิทธิมนุษยชนใน การประกาศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนสากลพ.ศ. 2491 ประเทศต่าง ๆ ในโลกส่วนใหญ่ขณะนี้ได้มีการศึกษาภาคบังคับ อย่างน้อยในระดับประถมศึกษา และมีหลายครั้งที่มีการขยายออกไปถึง มัธยมศึกษา

ประโยชน์

การศึกษาภาคบังคับมีประโยชน์ดังนี้ :

  • ก่อนที่จะมีการศึกษาภาคบังคับ เด็ก ๆ บางครั้งเรียนรู้ทักษะอาชีพของผู้ปกครองของพวกเขา การศึกษาภาคบังคับแนะนำงานอาชีพอื่น ๆ ที่เด็ก ๆ สามารถเรียนได้ ตัวอย่างเช่น ชั้นเรียนคณิตศาสตร์ นำพาเด็ก ๆ ไปสู่อาชีพที่ต้องใช้คณิตศาสตร์ ชีววิทยาสามารถนำพาเด็ก ๆ ไปสู่อาชีพทางด้านการแพทย์ได้ เป็นต้น
  • ขัดขวางการใช้แรงงานเด็ก
  • ลดจำนวนกลุ่มเด็กอันธพาลตามท้องถนน โดยที่แย่งเวลาส่วนใหญ่ของเวลาว่างของเด็ก นี่คือการช่วยลดปัญหาสังคมด้วย

ดูเพิ่ม