ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าผู้อารักขา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
'''เจ้าผู้พิทักษ์''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมัย
'''เจ้าผู้พิทักษ์''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมัย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:26, 9 มิถุนายน 2552

เจ้าผู้พิทักษ์ (ภาษาอังกฤษ: Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมัย

สมัยการปกครองโดยกษัตริย์และขุนนางในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

เอ็ดเวิร์ด ซีมัวร์ ดยุคแห่งซอมเมอร์เซ็ทที่ 1 “เจ้าผู้พิทักษ์” ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6

ตำแหน่ง “เจ้าผู้พิทักษ์” เดิมใช้สำหรับเจ้านายหรือขุนนางคนใดคนหนึ่งที่ได้รับอำนาจให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ซึ่งมิใช่ตำแหน่งสำหรับคณะบุคคลที่มีหน้าที่เป็นคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (Regency council)) ขณะที่พระมหากษัตริย์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะทรงปกครองด้วยพระองค์เองได้

ผู้ที่ได้รับการดำรงตำแหน่งนี้ที่สำคัญๆ ในอังกฤษก็ได้แก่:

ผู้ที่ได้รับการดำรงตำแหน่งนี้ในสกอตแลนด์ก็ได้แก่:

สมัยเครือจักรภพแห่งอังกฤษ

ตำแหน่ง เจ้าผู้พิทักษ์แห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ เป็นตำแหน่งประมุขของรัฐระหว่างสมัยไร้กษัตริย์อังกฤษ (English Interregnum) ซึ่งตามมาจากสมัยการปกครองอยู่ชั่วระยะหนึ่งของเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ภายใต้ “Council of State” ผู้ที่ดำรงตำแหน่งคนแรกคือโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ที่ดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 1653 จนถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1658 และต่อมาโดยริชาร์ด ครอมเวลล์ลูกชาย ระหว่างเดือนกันยายน ค.ศ. 1658 จนถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1659ซึ่งเป็นสมัยที่เรียกว่าสมัยรัฐผู้พิทักษ์ (The Protectorate)

ดูเพิ่ม