ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟท่านาแล้ง"

พิกัด: 17°54′11″N 102°42′35″E / 17.9030573°N 102.709744°E / 17.9030573; 102.709744
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''สถานีรถไฟท่านาแล้ง''' ตั้งอยู่บ้านท่านาแล้ง [[เมืองหาดทรายฟอง]] [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]] เป็น[[สถานีรถไฟ]]แห่งแรกของ[[ประเทศลาว]]
'''สถานีรถไฟท่านาแล้ง''' ตั้งอยู่บ้านท่านาแล้ง [[หาดทรายฟอง]] [[นครหลวงเวียงจันทน์]] [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]] เป็น[[สถานีรถไฟ]]แห่งแรกของ[[ประเทศลาว]]


สถานีรถไฟท่านาแล้ง ตั้งอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางของ[[สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1]] เป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร สร้างขึ้นตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย-ลาว เพื่อใช้ในการขนส่งสินค้า และผู้โดยสารที่จะเดินทางเข้าออก
สถานีรถไฟท่านาแล้ง ตั้งอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางของ[[สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1]] เป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร สร้างขึ้นตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย-ลาว เพื่อใช้ในการขนส่งสินค้า และผู้โดยสารที่จะเดินทางเข้าออก


[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการเดินรถไฟระหว่างไทย-ลาว เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ [[5 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]] <ref>[http://www.ryt9.com/s/iqry/534989/ สมเด็จพระเทพฯเสด็จเปิดรถไฟสายประวัติศาสตร์ ไทย-ลาว]</ref> ปัจจุบันมีการเดินรถวันละ 2 เที่ยว และในอนาคตจะมีการขยายเส้นทางเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอีก 9 กม. ก็จะสามารถเดินรถถึง[[นครหลวงเวียงจันทน์]]
[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการเดินรถไฟระหว่างไทย-ลาว เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ [[5 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]] <ref>[http://www.ryt9.com/s/iqry/534989/ สมเด็จพระเทพฯเสด็จเปิดรถไฟสายประวัติศาสตร์ ไทย-ลาว]</ref> ปัจจุบันมีการเดินรถวันละ 2 เที่ยว และในอนาคตจะมีการขยายเส้นทางเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอีก 9 กม. ก็จะสามารถเดินรถถึง[[เวียงจันทน์]]


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:42, 29 พฤษภาคม 2552

สถานีรถไฟท่านาแล้ง ตั้งอยู่บ้านท่านาแล้ง หาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นสถานีรถไฟแห่งแรกของประเทศลาว

สถานีรถไฟท่านาแล้ง ตั้งอยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางของสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 เป็นระยะทาง 3.5 กิโลเมตร สร้างขึ้นตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย-ลาว เพื่อใช้ในการขนส่งสินค้า และผู้โดยสารที่จะเดินทางเข้าออก

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการเดินรถไฟระหว่างไทย-ลาว เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 [1] ปัจจุบันมีการเดินรถวันละ 2 เที่ยว และในอนาคตจะมีการขยายเส้นทางเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอีก 9 กม. ก็จะสามารถเดินรถถึงเวียงจันทน์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

17°54′11″N 102°42′35″E / 17.9030573°N 102.709744°E / 17.9030573; 102.709744