ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เม่งจื๊อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Alexbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:منسیوس
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


[[ar:منسيوس]]
[[ar:منسيوس]]
[[arz:منسيوس]]
[[cs:Mencius]]
[[cs:Mencius]]
[[de:Mengzi]]
[[de:Mengzi]]
[[en:Mencius]]
[[en:Mencius]]
[[es:Mencio]]
[[es:Mencio]]
[[fa:منسیوس]]
[[fi:Mengzi]]
[[fr:Mencius]]
[[fr:Mencius]]
[[ko:맹자]]
[[he:מנזיוס]]
[[hr:Mencije]]
[[hr:Mencije]]
[[hu:Mencius]]
[[id:Mengzi]]
[[id:Mengzi]]
[[it:Mencio]]
[[it:Mencio]]
[[he:מנזיוס]]
[[ja:孟子]]
[[ko:맹자]]
[[lt:Meng Zi]]
[[lt:Meng Zi]]
[[hu:Mencius]]
[[mk:Менг-це]]
[[mk:Менг-це]]
[[arz:منسيوس]]
[[ms:Mencius]]
[[ms:Mencius]]
[[nl:Mencius]]
[[nl:Mencius]]
[[ja:孟子]]
[[no:Mencius]]
[[nn:Mencius]]
[[nn:Mencius]]
[[no:Mencius]]
[[pl:Mencjusz]]
[[pl:Mencjusz]]
[[pt:Mêncio]]
[[pt:Mêncio]]
[[ru:Мэн-цзы]]
[[ru:Мэн-цзы]]
[[sk:Meng-c’]]
[[sk:Meng-c’]]
[[fi:Mengzi]]
[[sv:Mencius]]
[[sv:Mencius]]
[[vi:Mạnh Tử]]
[[vi:Mạnh Tử]]
[[zh-classical:孟子]]
[[wuu:孟子]]
[[wuu:孟子]]
[[zh-yue:孟子]]
[[zh:孟子]]
[[zh:孟子]]
[[zh-classical:孟子]]
[[zh-yue:孟子]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:54, 25 พฤษภาคม 2552

เม่งจื๊อ

เม่งจื๊อ (จีน: 孟子; พินอิน: Mèng Zǐ; เวด-ไจลส์: Meng Tzu) หรือในทางตะวันตกรู้จักในชื่อ เมนเชียส (อังกฤษ: Mencius) ปีเกิดที่ได้รับการยอมรับที่สุดคือประมาณ 372 - 289 ก่อนคริสตกาล หรืออาจราว 385 - 303/302 ก่อนคริสตกาล) เป็นนักปรัชญาชาวจีน เป็นคนเมืองจูทางตอนใต้ของมณฑลชานตุง เม่งจื๊อได้รับถ่ายทอดแนวความคิดของขงจื๊อมาจากหลานชายของขงจื๊อเอง จึงถือว่าเป็นลูกศิษย์ของขงจื๊อคนหนึ่ง

เม่งจื๊อชอบเดินทางออกสั่งสอนหลักความคิดของเขาและก่อนที่เขาจะลาออกจากราชการ เขาแต่งหนังสือขึ้นรวม 7 เล่ม เป็นบันทึกคำสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเขา มีการรวมรวบเข้าเป็น 4 เล่มใหญ่ และได้กลายเป็นรากฐานการศึกษาหลักปรัชญาของเม่งจื๊อในเวลาต่อมา

แนวคิดของเม่งจื๊อ กล่าวว่า "โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์ทุกคนมีพื้นฐานเป็นคนดีมาแต่กำเนิด แต่สิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีต่าง ๆ ทำให้คนเราเปลี่ยนแปลงไป" ความดีทั้งหมด เม่งจื๊อเชื่อว่าสามารถต่อเติมให้กับมนุษย์ได้ด้วยการศึกษาศิลปะวิทยาการต่าง ๆ การศึกษาสามารถช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ไม่ได้เกิดจากประชาชนเป็นผู้กระทำ แต่เกิดจากบรรดาผู้ปกครองที่ไม่มีการศึกษา ฉะนั้นผู้ปกครองควรเป็นนักปรัชญาหรือไม่ก็ควรให้นักปรัชญามาเป็นปกครอง ในกรณีที่นักปกครองไม่มีคุณสมบัติเช่นนั้น ในข้อนี้เขาเน้นว่าชนชั้นบริหารรัฐบาลควรเป็นผู้ที่มีการศึกษา ผู้มีการศึกษาจะสามารถเข้าใจถึงความต้องการของประชาชนได้ดีกว่า[1]

นอกจากนี้ที่เกี่ยวกับชนชั้นในสังคม เม่งจื๊อสนับสนุนให้มีชนชั้น คือ ผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง เม่งจื๊อกล่าวว่า "ทั้ง 2 ชนชั้น มีหน้าที่ที่จะต้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน ถ้าขาดผู้หนึ่งผู้ใดไป สังคมก็จะไม่สมบูรณ์"[2]

อ้างอิง

  1. Quale, G.Robina : Eastern Civilization (Prentice Hall, Inc., Englewood Cliffs, New Jersey, 1975) P. 383
  2. Ibid