ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหงื่อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: gl:Suor; ประทิ่นเปลี่ยนแปลง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Amanda Françozo At The Runner Sports Fragment.jpg|thumb|หยดเหงื่อบนใบหน้า]]
[[ไฟล์:Amanda Françozo At The Runner Sports Fragment.jpg|thumb|หยดเหงื่อบนใบหน้า]]
'''เหงื่อ''' เป็น[[ของเสีย]]ชนิดหนึ่งที่[[ร่างกาย]]ขับออกมาในรูป[[ของเหลว]] และจะขับออกมาทาง[[ผิวหนัง]]หรือตามซอกต่างๆของร่างกาย มักมี[[รสเค็ม]]เพราะมีเกลือเป็นส่วนประกอบ การออกกำลังกายหรือเวลาอากาศร้อนก็มีเหงื่อได้เช่นกัน
'''เหงื่อ''' เป็น[[ของเสีย]]ชนิดหนึ่งที่[[ร่างกาย]]ขับออกมาในรูป[[ของเหลว]] และจะขับออกมาทาง[[ผิวหนัง]]หรือตามซอกต่างๆของร่างกาย มักมี[[รสเค็ม]]เพราะมีเกลือเป็นส่วนประกอบ การออกกำลังกายหรือเวลาอากาศร้อนก็มีเหงื่อได้เช่นกัน


เหงื่อประกอบด้วย [[น้ำ]] 99% ส่วนอีก 1% ได้แก่ [[โซเดียมคลอไรด์]] [[ยูเรีย]] [[น้ำตาล]] [[กรดอะมิโน]]บางชนิด [[โพแทสเซียม]] [[แมกนีเซียม]] [[เหล็ก]]
เหงื่อประกอบด้วย [[น้ำ]] 99% ส่วนอีก 1% ได้แก่ [[โซเดียมคลอไรด์]] [[ยูเรีย]] [[น้ำตาล]] [[กรดอะมิโน]]บางชนิด [[โพแทสเซียม]] [[แมกนีเซียม]] [[เหล็ก]]


==ชนิดของเหงื่อ==
== ชนิดของเหงื่อ ==
====เหงื่อที่ผลิตจาก Eccrine Sweat Glands ====
==== เหงื่อที่ผลิตจาก Eccrine Sweat Glands ====
ต่อมเหงื่อชนิดนี้พบทั่วตามร่างกาย ได้แก่ [[ผิวหนัง]] [[ฝ่ามือ]] [[ฝ่าเท้า]] ซึ่งจะผลิตเหงื่อที่มีลักษณะใสเหมือนน้ำ ไม่มีกลิ่น เพรารร่างกายจะขับเหงื่อชนิดนี้ออกมาเมื่อทำกิจกรรมหนักๆ หรืออยู่ในสภาวะอากาศร้อน
ต่อมเหงื่อชนิดนี้พบทั่วตามร่างกาย ได้แก่ [[ผิวหนัง]] [[ฝ่ามือ]] [[ฝ่าเท้า]] ซึ่งจะผลิตเหงื่อที่มีลักษณะใสเหมือนน้ำ ไม่มีกลิ่น เพรารร่างกายจะขับเหงื่อชนิดนี้ออกมาเมื่อทำกิจกรรมหนักๆ หรืออยู่ในสภาวะอากาศร้อน
====เหงื่อที่ผลิตจาก Apocrine Sweat Glands====
==== เหงื่อที่ผลิตจาก Apocrine Sweat Glands ====
ต่อมเหงื่อชนิดนี้กระจายตัวอยู่บางแห่งของร่างกาย เช่น รักแร้ ขาหนีบ ทวารหนัก หัวหน่าว ก้น แผ่นหลัง เหงื่อที่ได้จะมีลักษณะเหนียวใสและมีส่วนผสมของไขมันอยู่มากจึงทำให้เหงื่อชนิดนี้มีกลิ่น ซึ่งกลิ่นเหล่านี้ทำหน้าที่ในการกระตุ้นอารมณ์เพศจึงเป็นคนละกลิ่นที่เกิดจากการหมักหมมของขี้ไคล
ต่อมเหงื่อชนิดนี้กระจายตัวอยู่บางแห่งของร่างกาย เช่น รักแร้ ขาหนีบ ทวารหนัก หัวหน่าว ก้น แผ่นหลัง เหงื่อที่ได้จะมีลักษณะเหนียวใสและมีส่วนผสมของไขมันอยู่มากจึงทำให้เหงื่อชนิดนี้มีกลิ่น ซึ่งกลิ่นเหล่านี้ทำหน้าที่ในการกระตุ้นอารมณ์เพศจึงเป็นคนละกลิ่นที่เกิดจากการหมักหมมของขี้ไคล


==การขับเหงื่อ==
== การขับเหงื่อ ==
เหงื่อจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายของเราสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นของ "[[ความร้อน]]" และ "[[อารมณ์]]" ซึ่งทำให้[[สมอง]]หลั่งสารเคมีชื่อ แอซีทิลโคลีน (Acetylcholine) ที่อยู่บริเวณ[[ปลายประสาท]]ออกมากกระตุ้น[[ต่อมเหงื่อ]]ให้ผลิตเหงื่อ
เหงื่อจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายของเราสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นของ "[[ความร้อน]]" และ "[[อารมณ์]]" ซึ่งทำให้[[สมอง]]หลั่งสารเคมีชื่อ แอซีทิลโคลีน (Acetylcholine) ที่อยู่บริเวณ[[ปลายประสาท]]ออกมากกระตุ้น[[ต่อมเหงื่อ]]ให้ผลิตเหงื่อ


==ปริมาณเหงื่อของแต่ละคนขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ==
== ปริมาณเหงื่อของแต่ละคนขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ ==
[[อากาศ]] ความผันผวนของอากาศ ซึ่งอากาศร้อนมีความชื้นในอากาศสูงจะทำให้เหงื่อออกมากกว่าวันที่ฝนตกซึ่งมีความชื้นในอากศต่ำ
[[อากาศ]] ความผันผวนของอากาศ ซึ่งอากาศร้อนมีความชื้นในอากาศสูงจะทำให้เหงื่อออกมากกว่าวันที่ฝนตกซึ่งมีความชื้นในอากศต่ำ


กิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน หากต้องออกแรงมากจะทำให้เหงื่อออกมากซึ่งตรงข้ามกับผู้ที่ไม่ค่อยจะออกแรง
กิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน หากต้องออกแรงมากจะทำให้เหงื่อออกมากซึ่งตรงข้ามกับผู้ที่ไม่ค่อยจะออกแรง


====ปัจจัยเสริม====
==== ปัจจัยเสริม ====
โรคบางชนิดสามารถทำให้ปริมาณของเหงื่อเปลี่ยนแปลได้ เช่น โรคเครียด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษหรือคอพอก วัณโรค เบาหวาน โรคหัวใจ ภาวะใกล้หมดประจำเดือน สิ่งเหล่านี้ทำให้เหงื่อออกมาก ส่วนโรคผิวหนังไม่ว่าจะเป็นผด ผื่น สะเก็ดเงิน ผิวหนังแตกหยาบ ไมเกรนจะทำให้เหงื่อออกน้อย
โรคบางชนิดสามารถทำให้ปริมาณของเหงื่อเปลี่ยนแปลได้ เช่น โรคเครียด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษหรือคอพอก วัณโรค เบาหวาน โรคหัวใจ ภาวะใกล้หมดประจำเดือน สิ่งเหล่านี้ทำให้เหงื่อออกมาก ส่วนโรคผิวหนังไม่ว่าจะเป็นผด ผื่น สะเก็ดเงิน ผิวหนังแตกหยาบ ไมเกรนจะทำให้เหงื่อออกน้อย


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
* นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 16 พศจิกายน 2551
* นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 16 พศจิกายน 2551


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Perspiration}}
{{commonscat|Perspiration}}
{{โครงแพทย์}}
{{เรียงลำดับ|หเงื่อ}}


[[หมวดหมู่:สารน้ำในร่างกาย]]
[[หมวดหมู่:สารน้ำในร่างกาย]]
[[หมวดหมู่:ระบบต่อมมีท่อ]]
[[หมวดหมู่:ระบบต่อมมีท่อ]]
[[หมวดหมู่:การขับถ่าย]]
[[หมวดหมู่:การขับถ่าย]]
{{โครงแพทย์}}
{{เรียงลำดับ|หเงื่อ}}


[[ar:تعرق]]
[[ar:تعرق]]
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
[[fi:Hiki]]
[[fi:Hiki]]
[[fr:Sueur]]
[[fr:Sueur]]
[[gl:Suor]]
[[he:זיעה]]
[[he:זיעה]]
[[id:Keringat]]
[[id:Keringat]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:20, 19 พฤษภาคม 2552

หยดเหงื่อบนใบหน้า

เหงื่อ เป็นของเสียชนิดหนึ่งที่ร่างกายขับออกมาในรูปของเหลว และจะขับออกมาทางผิวหนังหรือตามซอกต่างๆของร่างกาย มักมีรสเค็มเพราะมีเกลือเป็นส่วนประกอบ การออกกำลังกายหรือเวลาอากาศร้อนก็มีเหงื่อได้เช่นกัน

เหงื่อประกอบด้วย น้ำ 99% ส่วนอีก 1% ได้แก่ โซเดียมคลอไรด์ ยูเรีย น้ำตาล กรดอะมิโนบางชนิด โพแทสเซียม แมกนีเซียม เหล็ก

ชนิดของเหงื่อ

เหงื่อที่ผลิตจาก Eccrine Sweat Glands

ต่อมเหงื่อชนิดนี้พบทั่วตามร่างกาย ได้แก่ ผิวหนัง ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ซึ่งจะผลิตเหงื่อที่มีลักษณะใสเหมือนน้ำ ไม่มีกลิ่น เพรารร่างกายจะขับเหงื่อชนิดนี้ออกมาเมื่อทำกิจกรรมหนักๆ หรืออยู่ในสภาวะอากาศร้อน

เหงื่อที่ผลิตจาก Apocrine Sweat Glands

ต่อมเหงื่อชนิดนี้กระจายตัวอยู่บางแห่งของร่างกาย เช่น รักแร้ ขาหนีบ ทวารหนัก หัวหน่าว ก้น แผ่นหลัง เหงื่อที่ได้จะมีลักษณะเหนียวใสและมีส่วนผสมของไขมันอยู่มากจึงทำให้เหงื่อชนิดนี้มีกลิ่น ซึ่งกลิ่นเหล่านี้ทำหน้าที่ในการกระตุ้นอารมณ์เพศจึงเป็นคนละกลิ่นที่เกิดจากการหมักหมมของขี้ไคล

การขับเหงื่อ

เหงื่อจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายของเราสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นของ "ความร้อน" และ "อารมณ์" ซึ่งทำให้สมองหลั่งสารเคมีชื่อ แอซีทิลโคลีน (Acetylcholine) ที่อยู่บริเวณปลายประสาทออกมากกระตุ้นต่อมเหงื่อให้ผลิตเหงื่อ

ปริมาณเหงื่อของแต่ละคนขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ

อากาศ ความผันผวนของอากาศ ซึ่งอากาศร้อนมีความชื้นในอากาศสูงจะทำให้เหงื่อออกมากกว่าวันที่ฝนตกซึ่งมีความชื้นในอากศต่ำ

กิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน หากต้องออกแรงมากจะทำให้เหงื่อออกมากซึ่งตรงข้ามกับผู้ที่ไม่ค่อยจะออกแรง

ปัจจัยเสริม

โรคบางชนิดสามารถทำให้ปริมาณของเหงื่อเปลี่ยนแปลได้ เช่น โรคเครียด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษหรือคอพอก วัณโรค เบาหวาน โรคหัวใจ ภาวะใกล้หมดประจำเดือน สิ่งเหล่านี้ทำให้เหงื่อออกมาก ส่วนโรคผิวหนังไม่ว่าจะเป็นผด ผื่น สะเก็ดเงิน ผิวหนังแตกหยาบ ไมเกรนจะทำให้เหงื่อออกน้อย

อ้างอิง

  • นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 16 พศจิกายน 2551

แหล่งข้อมูลอื่น