ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
new article, no copyright problem, copied from discussion page
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี''' มีพื้นที่ประมาณ 121 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยภูเขาหินปูน ป่าดิบ ป่าชายเลน และเกาะในทะเล
{{ละเมิดลิขสิทธิ์|url=http://www.dnp.go.th/parkreserve/nationalpark.asp?lg=1}}
อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี ครอบคลุมพื้นที่ 65,000 ไร่ หรือ 104 ตารางกิโลเมตร ในท้องที่อำเภออ่าวลึก และ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ มีสภาพภูมิประเทศเป็นป่าดงดิบที่มีธารน้ำไหลลอดภูเขา เหมาะสำหรับการพักผ่อน เล่นน้ำ พบแหล่งศิลปะ ถ้ำจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นภาพเขียนสีโบราณที่สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อใช้ในพิธีกรรม


ธารโบกขรณี เดิมชื่อ "ธารอโศก" ตั้งอยู่ในท้องที่หมู่ที่ 2 ตำบลอ่าวลึกใต้ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ มีเนื้อที่ 37.5 ไร่ เป็นป่าดงดิบอยู่ในระหว่างหุบเขา เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า มีธารน้ำไหลลอดภูเขาผ่านบริเวณนี้แล้วไหลลงสู่ทะเลที่ตำบลแหลมสัก ต้นน้ำเกิดจากเขาถ้ำน้ำผุด เขาถ้ำเพชร ในท้องที่ตำบลอ่าวลึกเหนือ อำเภออ่าวลึก อยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 4 กิโลเมตร แล้วไหลมาตามลำคลอง เรียกว่า "คลองอ่าวลึก" ในปี พ.ศ. 2496 นายวิเวก จันทโรจน์วงค์ ข้าหลวงประจำจังหวัดกระบี่ ได้แวะมาเยี่ยมชมธารอโศกแล้วเห็นว่า สถานที่นี้มีความสวยงามควรที่จะได้สงวนไว้เป็นพื้นที่ของทางราชการ เพื่อจะได้ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ไม่ให้ราษฎรเข้าบุกรุกถือครอง จึงได้สงวนไว้เป็นของทางราชการตั้งแต่นั้นมา ในปลายปี 2496 พลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้มาตรวจราชการที่อำเภออ่าวลึก ได้แวะพักที่ธารอโศกและพอใจในทิวทัศน์แห่งนี้มาก เห็นว่าชื่อที่เคยเรียกไว้เดิมยังไม่เหมาะสมจึงตั้งชื่อใหม่ว่า "ธารโบกขรณี"


== สถานที่ท่องเที่ยว ==
ครั้นต่อมาปี พ.ศ. 2498 ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ได้เสนอกรมป่าไม้ขอให้จัดตั้งธารโบกขรณีเป็นสวนรุกขชาติ ซึ่งกรมป่าไม้ได้รับในหลักการและดำเนินการตั้งแต่นั้นมา โดยอยู่ในความดูแลของกองบำรุง และเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2502 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จโดยรถยนต์พระที่นั่งจากจังหวัดพังงามาทรงประทับ ณ สวนรุกขชาติธารโบกขรณี ทั้งสองพระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยที่หินปากถ้ำน้ำลอดด้านขวามือ และได้ทรงปลูกต้นศรีตรังไว้ในสวนรุกขชาติแห่งนี้ด้วย


===ธารโบกขรณี===
จังหวัดกระบี่ ได้มีหนังสือที่ กษ 0009/11446 ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2527 ส่งรายงานการสำรวจเบื้องต้นของ นายประพันธ์ อินทรมณี ผู้ช่วยป่าไม้จังหวัดกระบี่ และนายสมจิตร สภาวรัตนภิญโญ นักวิชาการป่าไม้ 4 และหนังสืออำเภออ่าวลึก ที่ได้ตรวจสอบเกี่ยวกับปัญหาในการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติแห่งนี้ โดยได้เสนอความเห็นว่า สวนรุกขชาติธารโบกขรณีประกอบด้วยทิวทัศน์สวยงามในบริเวณพื้นที่ป่าและภูเขาใกล้เคียงกับสวนรุกขชาติ ยังมีความสวยงามตามธรรมชาติหลายแห่ง มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นป่าแหล่งต้นน้ำลำธาร เห็นสมควรอนุรักษ์ธรรมชาติไว้ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ
ตั้งอยู่บริเวณที่ทำการอุทยานฯ สภาพทั่วไปเป็นธารน้ำธรรมชาติไหลลงมายังแอ่งน้ำน้อยใหญ่ซึ่งอยู่ต่างระดับกัน รายรอบด้วยป่าไม้ร่มรื่น ด้านเหนือของธารโบกขรณี มีมณฑปพระพุทธบาทจำลองที่แกะสลักจากไม้ ประดิษฐานอยู่ใกล้กับศาลาบูชาเจ้าพ่อโต๊ะยวน-โต๊ะช่อง


===ถ้ำลอดเหนือและถ้ำลอดใต้===
กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้มีคำสั่งที่ 1516/2527 ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2527 ให้ นายสมจิตร สภาวรัตนภิญโญ นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปดำเนินการสำรวจหาข้อมูลเพิ่มเติม ผลการสำรวจรายงานตามหนังสือลงวันที่ 5 ธันวาคม 2527 ว่า พื้นที่ดังกล่าวมีจุดเด่นและธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง การคมนาคมสะดวก เหมาะที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้จึงได้มีคำสั่งที่ 336/2528 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2528 ให้ดำเนินการจัดตั้งพื้นที่สวนรุกขชาติธารโบกขรณีและพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียงในท้องที่จังหวัดกระบี่เป็นอุทยานแห่งชาติโดยใช้ชื่อว่า “อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี” ซึ่งอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีได้ทำการสำรวจพื้นที่ป่าเพิ่มเติม โดยมีหนังสือที่ กษ 0713(ธน)/51 ลงวันที่ 10 กันยายน 2529 และที่ กษ 0713(ธน)/15 ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2530 เห็นสมควรกำหนดพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียงที่มีความสำคัญต่อการท่องเที่ยว และสมควรที่จะอนุรักษ์เป็นสมบัติของชาติตลอดไป ผนวกเข้าเป็นอุทยานแห่งชาติด้วย
ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภออ่าวลึกไปตามถนนอ่าวลึก-แหลมสัก ประมาณ 2 กิโลเมตร แยกขวาไปยังท่าเรือบ่อท่อ แล้วลงเรือรับจ้างไปตามลำคลองท่าปรัง ผ่านป่าชายเลนไปประมาณ 10 นาที ถ้ำลอดใต้เป็นอุโมงค์ใต้เขาหินปูน มีธารน้ำไหลผ่านอุโมงค์แคบ มีหินงอกและหินย้อยสวยงาม ส่วนถ้ำลอดเหนือเป็นโพรงถ้ำขนาดใหญ่ มีแนวอุโมงค์คดเคี้ยวและยาวกว่าถ้ำลอดใต้ เรือสามารถแล่นผ่านได้ในช่วงน้ำลงเท่านั้น


===ถ้ำผีหัวโต หรือถ้ำหัวกะโหลก===
กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติซึ่งมีมติในการประชุมครั้งที่ 1/2531 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2531 เห็นชอบในหลักการที่จะให้กำหนดพื้นที่ธารโบกขรณีและพื้นที่ใกล้เคียงเป็นอุทยานแห่งชาติ และอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีได้มีหนังสือที่ กษ 0718(ธน)/27 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2531 เสนอให้ผนวกพื้นที่หมู่เกาะเหลาบิเละ (เกาะห้อง) เข้ากับพื้นที่อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีด้วย
ตั้งอยู่ในเขตอำเภออ่าวลึกในเทือกเขาผีหัวโต ซึ่งมีลักษณะเป็นเขาหินปูนล้อมรอบด้วยบึงและป่าโกงกาง นั่งเรือจากท่าเรือบ่อท่อไปประมาณ 10 นาที เลยทางแยกไปถ้ำลอดใต้เล็กน้อย จากปากถ้ำมองเข้าไปจะเห็นทางแยกเป็น 2 ทาง ทางซ้ายมือจะตัดตรงไปยังด้านหลังของถ้ำที่เป็นโพรงใหญ่ มีแสงสว่างส่องเข้ามาถึงได้ ส่วนด้านขวามือเป็นทางที่จะตรงเข้าไปยังห้องโถงของตัวถ้ำ แต่เดิมภายในถ้ำเคยพบหัวกะโหลกมนุษย์ซึ่งมีขนาดโตกว่าปกติจึงมีชื่อว่า “ถ้ำผีหัวโต” นอกจากนี้บนผนังถ้ำยังปรากฎภาพเขียนสีก่อนสมัยประวัติศาสตร์จำนวนมาก อาทิ รูปคน รูปสัตว์ ตลอดจนรูปอวัยวะต่างๆ และบนพื้นถ้ำมีเปลือกหอยทับถมกันอยู่เป็นจำนวนมาก


นอกจากนี้ตามเพิงผาและผนังถ้ำบนเกาะน้อยใหญ่ในเขตป่าชายเลนตอนกลางอุทยานแห่งชาติยังเป็นแหล่งภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ เช่น ถ้ำชาวเล แหลมท้ายแรด เกาะกาโรส แหลมไฟไหม้ ระยะทางแหลมสัก-แหลมไฟไหม้ 5 กิโลเมตร แหลมสัก-ถ้ำชาวเล 2 กิโลเมตร แหลมสัก-เขากาโรส หรือเกาะกาโรส 7 กิโลเมตร การเดินทางเช่าเหมาเรือหางยาวที่ท่าเรือแหลมสักตามระยะใกล้-ไกล และควรเดินทางช่วงน้ำขึ้นจะได้ขึ้นฝั่งสะดวก
อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี ถูกประกาศให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 โดยพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินบริเวณพื้นที่ป่าปากลาวและป่าคลองบากัน ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน พื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง และบริเวณหมู่เกาะเหลาบิเละ ในท้องที่ตำบลอ่าวลึกใต้ ตำบลอ่าวลึกเหนือ ตำบลแหลมสัก ตำบลอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก และตำบลเขาทอง อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ 104 ตารางกิโลเมตร ซึ่งได้ประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 115 ตอนที่ 67 ก ลงวันที่ 30 กันยายน 2541 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 86 ของประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี บางส่วนมีสภาพพื้นที่เป็นเขาสูงชันที่ทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ พื้นที่บางส่วนมีลักษณะแบบคาร์ส (Karst Topography) มีบ่อหรือพื้นยุบตัวของหินเบื้องล่าง (sink hole) มีลักษณะของธารน้ำใต้ดิน สภาพพื้นที่เป็นแบบลูกคลื่น ทั้งลอนลาดและลอนชัน มีเขาโดดเตี้ย (monadnock) ของหินปูน ซึ่งมีลักษณะเป็นหน้าผาสูงชันกระจายอยู่ทั่วไป ประกอบด้วย ถ้ำสระยวนทอง ควนสอง เขาลูกบ้า ถ้ำทะลุฟ้า เขาลอดใต้ เขาช่องลม เขานอก เขาตากรด เขาอ่าวน้ำ เขาอ่าวม่วง เขาใสโต๊ะดำ เขาใหญ่ปากช่องลาด และพื้นที่บางส่วนเป็นหมู่เกาะในทะเลอันดามันประกอบด้วย เกาะเหลาบิเละ (เกาะห้อง) เกาะเหลากา เกาะเหลาเหรียม เกาะปากกะ เกาะเหลาลาดิง เกาะยะลาฮูดัง เกาะเหลาบุโล๊ะ (เกาะผักเบี้ย) เกาะกามิด เกาะปาหุเสีย เกาะฮันตู เกาะจาบัง เกาะเมย เกาะกาโรส เกาะแตก เกาะมีไลย เกาะอ่าวช้างตาย เกาะเลาดัว เกาะรงมารง (เกาะขลุ่ย) เกาะแหลมค้างคาว เกาะแหลมทะลุ เกาะแหลมตุโดด เกาะช่องลาดใต้ และเกาะฮาม


===ถ้ำเพชร ===
พื้นที่อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีเป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารในพื้นที่อำเภออ่าวลึกหลายสาย ที่สำคัญได้แก่ คลองมะรุย คลองกลาง คลองน้ำตก คลองอ่าวลึก และคลองกาโรส
ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต.อ่าวลึกเหนือ อ.อ่าวลึก อยู่ห่างจากสี่แยกตลาดอ่าวลึกเหนือ 3 กิโลเมตร บริเวณด้านหน้ามีพระพุทธรูปปูนประดิษฐานอยู่ และมีหินสะท้อนแสงซึ่งส่องประกายสวยงามราวกับเพชรตามผนังถ้ำ การไปเที่ยวชมถ้ำเพชร สามารถติดต่อขอคนนำทางจากอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีได้ ทั้งนี้ควรนำไฟฉายติดตัวไปด้วย
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ เป็นแบบมรสุมในเขตร้อน มี 2 ฤดู คือฤดูฝนและฤดูร้อน หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “ฝนแปดแดดสี่” หมายถึง ฤดูฝน 8 เดือน ฤดูร้อน 4 เดือน


===ถ้ำพระ===
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี เดือนกันยายนจะเป็นเดือนที่มีปริมาณฝนตกมากที่สุดในรอบปี เดือนพฤศจิกายนเป็นเดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดในรอบปีประมาณ 26.4 องศาเซลเซียส
ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต. อ่าวลึกใต้ อ.อ่าวลึก ห่างจากที่ว่าการอำเภอประมาณ 2 ก.ม. ภายในถ้ำมีพระพุทธรูปใหญ่ 3 องค์ รอบฐานมีพระพุทธรูปไม้แกะสลักองค์เล็กตั้งอยู่โดยรอบ ฐานจะสร้างในสมัยใดไม่ปรากฏ แต่จากคำบอกเล่ากล่าวกันว่าสร้างพร้อมกับพระบรมธาตุเมืองนครฯ เนื่องจากผู้ศรัทธาที่จะเดินทางเอาทรัพย์สินเงินทองไปร่วมสร้างองค์พระบรมธาตุได้ทราบข่าวการสร้างองค์พระธาตุเสร็จสิ้นแล้ว จึงพร้อมใจกันสร้างพระพุทธรูป 3 องค์นี้ขึ้น พร้อมกับฝังทรัพย์สินเงินทองไว้อีกด้วย จากความเชื่อของชาวบ้านดังกล่าวก็อาจจะเป็นไปได้ เพราะเส้นทางระหว่างอ่าวลึก-ปากลาว-ปากพนม ตลอดแม่น้ำตาปีนั้นเป็นเส้นทางเดินข้ามแหลมมลายูมาแต่โบราณเส้นทางหนึ่ง


===หมู่เกาะห้อง===
ฤดูร้อน เริ่มจากกลางเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี เดือนกุมภาพันธ์จะเป็นเดือนที่มีปริมาณฝนตกน้อยที่สุดของปีอากาศช่วงนี้จะร้อน เหมาะแก่การท่องเที่ยว เดือนเมษายนเป็นเดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดประมาณ 29 องศาเซลเซียส
เป็นหมู่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่หลายเกาะ อาทิเช่น เกาะเหลาหรือเกาะซากา เกาะเหลาเหรียม เกาะปากกะ เกาะเหลาลาดิง เป็นต้น โดยมีเกาะห้องหรือเกาะเหลาปิเละ เป็นเกาะทางตอนใต้ที่ใหญ่ที่สุด ลักษณะโดยทั่วไปเป็นเขาหินปูน มีแนวปะการังทั้งในระดับน้ำตื้นและน้ำลึกเหมาะแก่การดำน้ำ ตกปลา การไปเที่ยวชมสามารถเช่าเรือจากอ่าวนาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง
พืชพรรณและสัตว์ป่า
สังคมพืชในเขตอุทยานแห่งชาติสามารถจำแนกออกได้เป็น
ป่าดงดิบ พบในบริเวณเทือกเขาสูงชัน พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ หลุมพอ ตะเคียน เคี่ยม อินทนิลน้ำ ตะแบก โสกน้ำ มะม่วงป่า ไข่เขียว ยางนา ตำเสา พืชพื้นล่างและพืชอิงอาศัยเป็นพวกระกำ หวาย ไผ่ป่า เต่าร้าง หมากเทา บอน เฟิน กล้วยป่า และเอื้องป่า เป็นต้น


== อ้างอิง ==
ป่าชายเลน ขึ้นอยู่ในดินเลนริมทะเลและตามบริเวณปากแม่น้ำใหญ่ ในบริเวณเขาถ้ำลอดใต้ อ่าวน้ำ แหลมสัก คลองบากัน และคลองกาโรสบางส่วน พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ตะบูนดำ ตะบูนขาว ลำพู ลำแพน ถั่วขาว ถั่วดำ พังกาหัวสุม และแสม
* [http://www.tourthai.com/ TourThai.com สื่อกลางการท่องเที่ยวทั่วไทย]
* [http://www.dnp.go.th/parkreserve/index.asp?lg=1 เว็บไซต์อุทยานแห่งชาติของกรมอุทยานแห่งชาติ]


{{ไม่สงวนลิขสิทธิ์|http://www.tourthai.com/}}
ป่าพรุ พบในบริเวณที่มีน้ำจืดขังอยู่ตลอดปีของเขาช่องลมตอนใต้ มีเนื้อที่ไม่มากนัก

ด้วยสภาพพื้นที่ป่าในปัจจุบันไม่เป็นผืนป่าขนาดใหญ่ติดต่อกัน ทำให้สัตว์ป่าที่หลงเหลืออยู่มีไม่มากนักที่พบเห็นได้แก่ หมูป่า เสือปลา กระจงหนู ชะนี ลิง ค่าง ชะมดหางปล้อง เม่นใหญ่แผงคอยาว ลิ่น นากเล็บสั้น กระแต กระรอก อ้นเล็ก พังพอนธรรมดา บ่าง หนู ไก่ป่า นกดุเหว่า นกเขาใหญ่ นกเขาชะวา นกกวัก นกเอี้ยงสาริกา นกยางเปีย เหยี่ยวแดง นกตบยุง นกขุนทอง นกแซงแซว นกขมิ้น นกหัวขวาน นกกางเขนดง นกกางเขนบ้าน นกเด้าลมหลังเทา นกปรอด เต่า งู กบ และอึ่งอ่าง ฯลฯ ในห้วยลำคลองมีปลาน้ำจืดที่พบเห็นโดยทั่วไปได้แก่ ปลาช่อน ปลาตะเพียน ปลาเสือข้างลาย ปลาแก้มช้ำ ปลาซิว ปลาดุก ปลาหัวตะกั่ว ปลาไหล ปลากดเหลือง ปลากระดี่นาง ปลากระดี่หม้อ ปลากัด ปลาตูหนา ปลาหมอไทย ปลากระทุงเหวเมือง และปลากระสูบขีด

อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีครอบคลุมท้องน้ำทะเลประมาณ 64.3 ตารางกิโลเมตร มีสัตว์น้ำที่สำคัญและมีเป็นจำนวนมากทั้งพวกหอย ปู กุ้ง ปลากะรัง ปลากระพงแดง ปลาผีเสื้อ ปลานกแก้ว ปลาสลิดหิน ปลาสิงโต ปลาการ์ตูน ปลิงทะเล ดาวทะเล แมงดาทะเล ดอกไม้ทะเล เม่นทะเล ฟองน้ำ ปะการังอ่อน ปะการังเขากวาง ปะการังสมอง และปะการังเห็ด เป็นต้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:36, 22 พฤษภาคม 2548

อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี มีพื้นที่ประมาณ 121 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยภูเขาหินปูน ป่าดิบ ป่าชายเลน และเกาะในทะเล


สถานที่ท่องเที่ยว

ธารโบกขรณี

ตั้งอยู่บริเวณที่ทำการอุทยานฯ สภาพทั่วไปเป็นธารน้ำธรรมชาติไหลลงมายังแอ่งน้ำน้อยใหญ่ซึ่งอยู่ต่างระดับกัน รายรอบด้วยป่าไม้ร่มรื่น ด้านเหนือของธารโบกขรณี มีมณฑปพระพุทธบาทจำลองที่แกะสลักจากไม้ ประดิษฐานอยู่ใกล้กับศาลาบูชาเจ้าพ่อโต๊ะยวน-โต๊ะช่อง

ถ้ำลอดเหนือและถ้ำลอดใต้

ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภออ่าวลึกไปตามถนนอ่าวลึก-แหลมสัก ประมาณ 2 กิโลเมตร แยกขวาไปยังท่าเรือบ่อท่อ แล้วลงเรือรับจ้างไปตามลำคลองท่าปรัง ผ่านป่าชายเลนไปประมาณ 10 นาที ถ้ำลอดใต้เป็นอุโมงค์ใต้เขาหินปูน มีธารน้ำไหลผ่านอุโมงค์แคบ มีหินงอกและหินย้อยสวยงาม ส่วนถ้ำลอดเหนือเป็นโพรงถ้ำขนาดใหญ่ มีแนวอุโมงค์คดเคี้ยวและยาวกว่าถ้ำลอดใต้ เรือสามารถแล่นผ่านได้ในช่วงน้ำลงเท่านั้น

ถ้ำผีหัวโต หรือถ้ำหัวกะโหลก

ตั้งอยู่ในเขตอำเภออ่าวลึกในเทือกเขาผีหัวโต ซึ่งมีลักษณะเป็นเขาหินปูนล้อมรอบด้วยบึงและป่าโกงกาง นั่งเรือจากท่าเรือบ่อท่อไปประมาณ 10 นาที เลยทางแยกไปถ้ำลอดใต้เล็กน้อย จากปากถ้ำมองเข้าไปจะเห็นทางแยกเป็น 2 ทาง ทางซ้ายมือจะตัดตรงไปยังด้านหลังของถ้ำที่เป็นโพรงใหญ่ มีแสงสว่างส่องเข้ามาถึงได้ ส่วนด้านขวามือเป็นทางที่จะตรงเข้าไปยังห้องโถงของตัวถ้ำ แต่เดิมภายในถ้ำเคยพบหัวกะโหลกมนุษย์ซึ่งมีขนาดโตกว่าปกติจึงมีชื่อว่า “ถ้ำผีหัวโต” นอกจากนี้บนผนังถ้ำยังปรากฎภาพเขียนสีก่อนสมัยประวัติศาสตร์จำนวนมาก อาทิ รูปคน รูปสัตว์ ตลอดจนรูปอวัยวะต่างๆ และบนพื้นถ้ำมีเปลือกหอยทับถมกันอยู่เป็นจำนวนมาก

นอกจากนี้ตามเพิงผาและผนังถ้ำบนเกาะน้อยใหญ่ในเขตป่าชายเลนตอนกลางอุทยานแห่งชาติยังเป็นแหล่งภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ เช่น ถ้ำชาวเล แหลมท้ายแรด เกาะกาโรส แหลมไฟไหม้ ระยะทางแหลมสัก-แหลมไฟไหม้ 5 กิโลเมตร แหลมสัก-ถ้ำชาวเล 2 กิโลเมตร แหลมสัก-เขากาโรส หรือเกาะกาโรส 7 กิโลเมตร การเดินทางเช่าเหมาเรือหางยาวที่ท่าเรือแหลมสักตามระยะใกล้-ไกล และควรเดินทางช่วงน้ำขึ้นจะได้ขึ้นฝั่งสะดวก

ถ้ำเพชร

ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต.อ่าวลึกเหนือ อ.อ่าวลึก อยู่ห่างจากสี่แยกตลาดอ่าวลึกเหนือ 3 กิโลเมตร บริเวณด้านหน้ามีพระพุทธรูปปูนประดิษฐานอยู่ และมีหินสะท้อนแสงซึ่งส่องประกายสวยงามราวกับเพชรตามผนังถ้ำ การไปเที่ยวชมถ้ำเพชร สามารถติดต่อขอคนนำทางจากอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณีได้ ทั้งนี้ควรนำไฟฉายติดตัวไปด้วย

ถ้ำพระ

ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต. อ่าวลึกใต้ อ.อ่าวลึก ห่างจากที่ว่าการอำเภอประมาณ 2 ก.ม. ภายในถ้ำมีพระพุทธรูปใหญ่ 3 องค์ รอบฐานมีพระพุทธรูปไม้แกะสลักองค์เล็กตั้งอยู่โดยรอบ ฐานจะสร้างในสมัยใดไม่ปรากฏ แต่จากคำบอกเล่ากล่าวกันว่าสร้างพร้อมกับพระบรมธาตุเมืองนครฯ เนื่องจากผู้ศรัทธาที่จะเดินทางเอาทรัพย์สินเงินทองไปร่วมสร้างองค์พระบรมธาตุได้ทราบข่าวการสร้างองค์พระธาตุเสร็จสิ้นแล้ว จึงพร้อมใจกันสร้างพระพุทธรูป 3 องค์นี้ขึ้น พร้อมกับฝังทรัพย์สินเงินทองไว้อีกด้วย จากความเชื่อของชาวบ้านดังกล่าวก็อาจจะเป็นไปได้ เพราะเส้นทางระหว่างอ่าวลึก-ปากลาว-ปากพนม ตลอดแม่น้ำตาปีนั้นเป็นเส้นทางเดินข้ามแหลมมลายูมาแต่โบราณเส้นทางหนึ่ง

หมู่เกาะห้อง

เป็นหมู่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่หลายเกาะ อาทิเช่น เกาะเหลาหรือเกาะซากา เกาะเหลาเหรียม เกาะปากกะ เกาะเหลาลาดิง เป็นต้น โดยมีเกาะห้องหรือเกาะเหลาปิเละ เป็นเกาะทางตอนใต้ที่ใหญ่ที่สุด ลักษณะโดยทั่วไปเป็นเขาหินปูน มีแนวปะการังทั้งในระดับน้ำตื้นและน้ำลึกเหมาะแก่การดำน้ำ ตกปลา การไปเที่ยวชมสามารถเช่าเรือจากอ่าวนาง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง

อ้างอิง

แม่แบบ:ไม่สงวนลิขสิทธิ์