ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าจิงกูจา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''พระเจ้าจิงกูจา''' (Singu Min) พระโอรสของ[[พระเจ้ามังระ]] ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 19 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น [[พระเจ้าปดุง]] ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง
'''พระเจ้าจิงกูจา''' (Singu Min) พระโอรสของ[[พระเจ้ามังระ]] ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 19 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น [[พระเจ้าปดุง]] ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง


พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ มองหม่อง โอรสของ[[พระเจ้ามังลอก]] ทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปที่ต่างเมือง โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]] แม่ทัพคนสำคัญที่ถูกเรียกตัวกลับระหว่างศึกที่เข้าตี[[พิษณุโลก]]ด้วย)
พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ [[มองหม่อง]] โอรสของ[[พระเจ้ามังลอก]] ทำการ[[รัฐประหาร]]ยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปที่ต่างเมือง โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้ง[[อะแซหวุ่นกี้]] แม่ทัพคนสำคัญที่ถูกเรียกตัวกลับระหว่างศึกที่เข้าตี[[พิษณุโลก]]ด้วย)


แต่หลังจากนั้นไม่นาน ทั้งคู่ก็ถูกประหารชีวิตเสียสิ้น จากพระเจ้าปดุงที่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลถัดไป
แต่หลังจากนั้นไม่นาน ทั้งคู่ก็ถูกประหารชีวิตเสียสิ้น จากพระเจ้าปดุงที่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลถัดไป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:43, 24 เมษายน 2552

พระเจ้าจิงกูจา (Singu Min) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 19 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิต เสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ทรงถูกส่งให้ไปครองเมืองสะกายและมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง

พระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียงชั่วระยะเวลาไม่นาน ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ มองหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปที่ต่างเมือง โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่า รวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพคนสำคัญที่ถูกเรียกตัวกลับระหว่างศึกที่เข้าตีพิษณุโลกด้วย)

แต่หลังจากนั้นไม่นาน ทั้งคู่ก็ถูกประหารชีวิตเสียสิ้น จากพระเจ้าปดุงที่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลถัดไป

พระเจ้าจิงกูจา มีชื่อเรียกในภาษาพม่าว่า "เซงกูเมง"


|- style="text-align: center; vertical-align: middle;" | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | พระเจ้ามังระ
ราชวงศ์อลองพญา
| rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 40%; padding: .5em 0; background-color: inherit;" | พระเจ้าจิงกูจา
(อาณาจักรพม่า-รามัญ)

(2319 - 2324) | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | พระเจ้าปดุง
ราชวงศ์อลองพญา