ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมบิดิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''โมบิดิก''' ({{lang-en|Moby-Dick}}) คือนวนิยายของ เฮอร์มัน เมลวิลล์ ในปี ค.ศ. …
 
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
ในเรื่อง ''โมบิดิก'' เมลวิลล์ได้ใช้กลวิธีทางภาษา สัญลักษณ์ และการเปรียบเทียบต่างๆ ในการนำเสนอโครงเรื่องอันซับซ้อน ผ่านทางตัวละครหลัก โดยสื่อถึงเรื่องของชนชั้นและฐานะทางสังคม ความดี ความชั่ว และการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าซึ่งสื่อออกมาด้วยความเชื่อส่วนตัวของอิชมาเอล และตำแหน่งของเขาในจักรวาล เขาสะท้อนเรื่องราวผ่านวิธีการเล่าของผู้เล่าเรื่อง การบรรยายสภาพชีวิตของกลาสีบนเรือล่าวาฬ ค่อยๆ ถักทอเรื่องราวไปพร้อมกับการใช้เทคนิคแบบ[[เชกสเปียร์]] คือการเล่าเรื่องผ่านมุมมองเหมือนละครเวที และใช้วิธีการรำพึงกับตัวเองของตัวละครเพื่อบอกเล่าความในใจ
ในเรื่อง ''โมบิดิก'' เมลวิลล์ได้ใช้กลวิธีทางภาษา สัญลักษณ์ และการเปรียบเทียบต่างๆ ในการนำเสนอโครงเรื่องอันซับซ้อน ผ่านทางตัวละครหลัก โดยสื่อถึงเรื่องของชนชั้นและฐานะทางสังคม ความดี ความชั่ว และการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าซึ่งสื่อออกมาด้วยความเชื่อส่วนตัวของอิชมาเอล และตำแหน่งของเขาในจักรวาล เขาสะท้อนเรื่องราวผ่านวิธีการเล่าของผู้เล่าเรื่อง การบรรยายสภาพชีวิตของกลาสีบนเรือล่าวาฬ ค่อยๆ ถักทอเรื่องราวไปพร้อมกับการใช้เทคนิคแบบ[[เชกสเปียร์]] คือการเล่าเรื่องผ่านมุมมองเหมือนละครเวที และใช้วิธีการรำพึงกับตัวเองของตัวละครเพื่อบอกเล่าความในใจ


นักวิจารณ์เห็นว่างานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน[[ศิลปะจินตนิยม|ยุคจินตนิยม]]ในสหรัฐอเมริกา ''โมบิดิก'' ตีพิมพ์ครั้งแรกโดย ริชาร์ด เบนท์ลีย์ ในกรุงลอนดอนในปี ค.ศ. 1851 โดยแบ่งพิมพ์ออกเป็น 3 เล่มชุด ใช้ชื่อเรื่องว่า ''The Whale'' ต่อมาจึงพิมพ์รวมเป็นเล่มเดียวกันโดยสำนักพิมพ์ฮาร์เปอร์และพี่น้อง ในกรุงนิวยอร์ก ใช้ชื่อเรื่องว่า ''Moby-Dick'' เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1851 ประโยคแรกในบทที่หนึ่งคือ —"Call me Ishmael."— ("เรียกข้าว่า อิชมาเอล") ถือเป็นหนึ่งในประโยคเปิดเรื่องที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในบรรดางานวรรณกรรมทั้งปวง นวนิยายได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ทั้งแง่บวกและลบ อย่างไรก็ดี ตราบจนปัจจุบัน ''โมบิดิก'' ได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งในนวนิยายภาษาอังกฤษที่ยอดเยี่ยมที่สุด และทำให้เมลวิลล์เป็นหนึ่งในนักเขียนชาวอเมริกันผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาล
นักวิจารณ์เห็นว่างานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน[[ศิลปะจินตนิยม|ยุคจินตนิยม]]ใน[[สหรัฐอเมริกา]] ''โมบิดิก'' ตีพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์ริชาร์ด เบนท์ลีย์ ในกรุงลอนดอนในปี ค.ศ. 1851 โดยแบ่งพิมพ์ออกเป็น 3 เล่มชุด ใช้ชื่อเรื่องว่า ''The Whale'' ต่อมาจึงพิมพ์รวมเป็นเล่มเดียวกันโดยสำนักพิมพ์ฮาร์เปอร์และพี่น้อง ในกรุงนิวยอร์ก ใช้ชื่อเรื่องว่า ''Moby-Dick'' เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1851 ประโยคแรกในบทที่หนึ่งคือ —"Call me Ishmael."— ("เรียกข้าว่า อิชมาเอล") ถือเป็นหนึ่งในประโยคเปิดเรื่องที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในบรรดางานวรรณกรรมทั้งปวง นวนิยายได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ทั้งแง่บวกและลบ อย่างไรก็ดี ตราบจนปัจจุบัน ''โมบิดิก'' ได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งในนวนิยายภาษาอังกฤษที่ยอดเยี่ยมที่สุด และทำให้เมลวิลล์เป็นหนึ่งในนักเขียนชาวอเมริกันผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาล


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.gutenberg.org/etext/2701 Moby-Dick] ที่ [[โครงการกูเตนเบิร์ก]]
* [http://www.mobydickthewhale.com/ Moby-Dick; or, The White Whale] ฉบับออนไลน์
* [http://www.asiaing.com/moby-dick-by-herman-melville-free-ebook.html Moby Dick] อีบุ๊กส์ฟรี ในรูปแบบ PDF

{{เรียงลำดับ|มโบิดิก}}
[[หมวดหมู่:งานเขียนของเฮอร์มัน เมลวิลล์]]
[[หมวดหมู่:งานเขียนของเฮอร์มัน เมลวิลล์]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมภาษาอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมภาษาอังกฤษ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:42, 19 เมษายน 2552

โมบิดิก (อังกฤษ: Moby-Dick) คือนวนิยายของ เฮอร์มัน เมลวิลล์ ในปี ค.ศ. 1851 เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเดินทางผจญภัยของกลาสีชื่อ อิชมาเอล ในเรือล่าวาฬ Pequod และกัปตันเรือชื่อ อาฮับ ไม่นานอิชมาเอลก็ทราบว่า อาฮับกำลังออกติดตามหาวาฬตัวหนึ่งชื่อ โมบิดิก ซึ่งเป็นวาฬสีขาวขนาดมหึมาที่ดุร้ายมาก ไม่ค่อยมีเรือล่าวาฬลำใดรู้จักโมบิดิก ยิ่งที่เคยได้เจอตัวมันยิ่งน้อยนัก เมื่ออาฮับเจอมันคราวก่อน วาฬยักษ์ทำลายเรือของอาฮับและยังกัดขาเขาขาด อาฮับจึงคิดจะตามแก้แค้น

ในเรื่อง โมบิดิก เมลวิลล์ได้ใช้กลวิธีทางภาษา สัญลักษณ์ และการเปรียบเทียบต่างๆ ในการนำเสนอโครงเรื่องอันซับซ้อน ผ่านทางตัวละครหลัก โดยสื่อถึงเรื่องของชนชั้นและฐานะทางสังคม ความดี ความชั่ว และการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าซึ่งสื่อออกมาด้วยความเชื่อส่วนตัวของอิชมาเอล และตำแหน่งของเขาในจักรวาล เขาสะท้อนเรื่องราวผ่านวิธีการเล่าของผู้เล่าเรื่อง การบรรยายสภาพชีวิตของกลาสีบนเรือล่าวาฬ ค่อยๆ ถักทอเรื่องราวไปพร้อมกับการใช้เทคนิคแบบเชกสเปียร์ คือการเล่าเรื่องผ่านมุมมองเหมือนละครเวที และใช้วิธีการรำพึงกับตัวเองของตัวละครเพื่อบอกเล่าความในใจ

นักวิจารณ์เห็นว่างานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุคจินตนิยมในสหรัฐอเมริกา โมบิดิก ตีพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์ริชาร์ด เบนท์ลีย์ ในกรุงลอนดอนในปี ค.ศ. 1851 โดยแบ่งพิมพ์ออกเป็น 3 เล่มชุด ใช้ชื่อเรื่องว่า The Whale ต่อมาจึงพิมพ์รวมเป็นเล่มเดียวกันโดยสำนักพิมพ์ฮาร์เปอร์และพี่น้อง ในกรุงนิวยอร์ก ใช้ชื่อเรื่องว่า Moby-Dick เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1851 ประโยคแรกในบทที่หนึ่งคือ —"Call me Ishmael."— ("เรียกข้าว่า อิชมาเอล") ถือเป็นหนึ่งในประโยคเปิดเรื่องที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในบรรดางานวรรณกรรมทั้งปวง นวนิยายได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ทั้งแง่บวกและลบ อย่างไรก็ดี ตราบจนปัจจุบัน โมบิดิก ได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งในนวนิยายภาษาอังกฤษที่ยอดเยี่ยมที่สุด และทำให้เมลวิลล์เป็นหนึ่งในนักเขียนชาวอเมริกันผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาล

แหล่งข้อมูลอื่น