ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:AIM-9 Sidewinder.jpg|จรวดไซด์ไวน์เดอร์ที่กำลังจะติดตั้งกับเครื่อง[[เอฟ/เอ-18|เอฟ-18]]|thumb|250px|right]]
[[ภาพ:AIM-9 Sidewinder.jpg|จรวดไซด์ไวน์เดอร์ที่กำลังจะติดตั้งกับเครื่อง[[เอฟ/เอ-18|เอฟ-18]]|thumb|300px|right]]
'''เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์''' ({{lang-en|''AIM-9 Sidewinder''}}) เป็น[[ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ]]ติดตามความร้อนพิสัยใกล้ซึ่งใช้โดย[[เครื่องบินขับไล่]]และล่าสุดยังใช้โดย[[เฮลิคอปเตอร์โจมตี]] มันถูกตั้งชื่อตามงูไซด์ไวน์เดอร์ซึ่งหาเหยื่อของมันผ่านทางความร้อนของร่างกายและยังเพราะว่าขีปนาวุธมีเส้นทางการเคลื่อนที่คล้ายงูเลื้อย ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงแบบแรก มักถูกใช้และลอกเลียนแบบอย่างกว้างขวาง ถึงกระนั้นแบบต่างๆ และการพัฒนาของมันยังคงอยู่ในประจำการในหลายกองทัพอากาศหลังจากที่มันทำงานมากว่าห้าทศวรรษ เมื่อไซด์ไวน์เดอร์เริ่มถูกใช้ นักบินของ[[นาโต้]]ใช้รหัสเรียกมันว่า"ฟ็อกซ์ ทู" (''Fox two'') ทางวิทยุสื่อสาร เช่นเดียวกับขีปนาวุธติดตามความร้อนแบบอื่นๆ
'''เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์''' เป็นจรวด[[ขีปนาวุธ]]อากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตั้งบน[[เครื่องบินขับไล่]]ในกองทัพติดตามด้วย[[ความร้อน]]


ไซด์ไวน์เดอร์ประมาณ 110,000 ลูกได้ถูกสร้างขึ้นมาซึ่งอาจมีเพียงหนึ่งเปอร์เซ็นท์เท่านั้นที่ใช้ไปในการต่อสู้ ส่งผลให้มีการสังหารไป 250-300 ทั่วโลก ขีปนาวุธนั้นถูกออกแบบมาอย่างง่ายดาย<ref>[http://www.strategypage.com/htmw/htairw/articles/20080223.aspx Air Weapons: Beyond Sidewinder<!-- Bot generated title -->]</ref>
การพัฒนา จรวดในตระกูล AIM-9 ได้เริ่มมีการทดลองวิจัยในปี [[ค.ศ. 1940]] โดย NAVAL WEAPON CENTER ประจำการใน และออกเป็นผลผลิตในรุ่นแรกคือ AIM-9B ซึ่งเข้า ค.ศ. 1956 ต่อมาทั้ง US NAVY และ US AIRFORCE ได้แยกกันในการพัฒนา จึงได้เป็นผลผลิตออกมาอีกหลายรุ่นคือ AIM-9C, AIM-9D, AIM-9E, AIM-9G, AIM-9H, AIM-9J,AIM-9P และ AIM-9N ต่อมาได้หันมาร่วมมือกันในการพัฒนามา เป็น AIM-9L ทอ.ได้จัดหา AIM-9P-3 และ AIM-9P-4 เข้าประจำการเมื่อ ปี 2522 และ ปี 2532 ตามลำดับ ปัจจุบันใช้งานกับ เครื่องบินรบ [[F-5]] และ [[F-16]] ในส่วน 9P-3 และ 9P-4 เป็นการพัฒนา ขึ้นมาจาก AIM-9P ซึ่งมีความยาว 3.07 ม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 127 มม. WINGSPAN 0.64 ม. น้ำหนัก 82 กก. โดยเพิ่ม ขีดความสามารถในส่วนควบคุมการนำวิถีจากเดิม เฉพาะAIM-9P นั้น สามารถตรวจจับ IR ได้จากทางท้าย ท่อสันดาปของเครื่องบินเท่านั้น ให้สามารถตรวจจับ IR ได้ทุกทิศทางอีกทั้งสามารถใช้งานได้หลาย MODE ขึ้นอยู่กับระบบ AVIONICS ที่ติดตั้งใช้งานกับ บ. เช่น BORSIGHT MODE, UNCAGE SCAN MODESIGHT, SLAVED MODE หรือ HELMET-MOUNTED ในส่วน 9P-4 ได้เพิ่มชนวน เฉียดระเบิด แบบทำงานด้วยแสง [[เลเซอร์]]สะท้อนกลับ มีระยะยิงหวังผล 8 กม. ผลิตโดยบริษัท FORD AEROSPACE ซึ่งต่อมาได้ถูกซื้อกิจการต่อมาเรื่อยๆ จนปัจจุบันเป็นของ บริษัท LOCKHEED MARTIN ประเทศสหรัฐอเมริกา

==หลักฟิสิกส์ในการใช้อินฟราเรด==
ในทศวรรษที่ 1920 มีการค้นพบว่าการเผยสารประกอบตัวนำกำมะถันให้กับ[[อินฟราเรด]]จะลดการต้านทานไฟฟ้าของการผสมสาร สิ่งนี้เป็นตัวอย่างของสิ่งที่เรียกว่า"โฟโตคอนดักทิวิตี้" ({{lang-en|''photoconductivity''}}) สิ่งนี้ยังสามารถเปล่งแสงได้โดยคลื่นความยาวของ[[แสง]]<ref>Encyclopedia Britannica</ref> สิ่งดังกล่าวสามารถวัดขนาดผลในปัจจุบันและจากนั้นก็ส่งต่อผลดังกล่าวเพื่อเกิดการกระทำ&mdash;ในกรณีนี้ หัวที่หาเป้าจะส่งผลให้ขีปนาวุธเพื่อบินตรงไปที่แหล่ง[[ความร้อน]]

ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง กองกำลังส่วนใหญ่พยายามที่จะสร้างระบบมองกลางคืนโดยใช้เครื่องตรวจจับตัวนำกำมะถันและจอมองเพิ่มความเข้มข้น ส่วนใหญ่สำหรับการตรวจจับเครื่องบินในระยะไกล แต่ก็ไม่มีการพิสูจน์ใดๆ ที่พบว่าประสบผลสำเร็จและมีเพียงระบบสแปนเนอร์ (''Spanner'') ของเยอรมันเท่านั้นที่เข้าสู่การผลิต สแปนเนอร์ใช้ท่อมองขนาดยาวฉายผ่านจอของเครื่องบินเพื่อให้นักบินมองเห็นสิ่งที่อยู่ข้างหน้าได้อย่างชัดเจนแต่มันก็มีพิสัยที่จำกัด โครงการทั้งหมดนี้จบลงด้วยการใช้เรดาร์ทางอากาศ

เครื่องตรวจจับอินฟราเรดถูกใช้อย่างกว้างขวางบนฐานภาคพื้นดิน สิ่งเหล่านี้ยังรวมทั้งทุกสิ่งจากระบบมองเห็นสำหรับรถถังและแม้แต่พลซุ่มยิง เพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ในตอนกลางคืน อย่างไรก็ตามเยอรมนียังได้ทำการทดลองระบบนำวิถีขีปนาวุธอัตโนมัติโดยตั้งใจที่จะนำไปหาความร้อนจากเครื่องยนต์เครื่องบิน มันใ้ช้เครื่องตรวจจับเพียงเครื่องเดียวตรงกล้องมองขนาดเล็ก พร้อมกังหันสี่ตำแหน่งระหว่างเครื่องตรวจจับและกล้องโทรทรรศน์ กล้งอโทรทรรศน์จะส่งผลให้สัญญาณตกลงบนเครื่องตรวจจับเพื่อเพิ่มและลดโดยขึ้นอยู่กับว่าสัญญาณถูกกั้นจากกังหันมากแค่ไหน จากนั้นสัญญาณนี้จะถูกใช้เป็นเสมือนนักบินอัตโนมัติ โดยจากนั้นจะเริ่มหันไปที่แกนของกล้องโทรทรรศน์ ขีปนาวุธถูกนำวิถีไปที่เป้าหมายโดยใช้สิ่งที่เรียกว่าการไล่ตาม (''pure pursuit'') การพัฒนาไม่สิ้นสุดจนกระทั่งสงครามจบลง


==ข้อมูลทั่วไป==
==ข้อมูลทั่วไป==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:48, 18 เมษายน 2552

จรวดไซด์ไวน์เดอร์ที่กำลังจะติดตั้งกับเครื่องเอฟ-18

เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ (อังกฤษ: AIM-9 Sidewinder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศติดตามความร้อนพิสัยใกล้ซึ่งใช้โดยเครื่องบินขับไล่และล่าสุดยังใช้โดยเฮลิคอปเตอร์โจมตี มันถูกตั้งชื่อตามงูไซด์ไวน์เดอร์ซึ่งหาเหยื่อของมันผ่านทางความร้อนของร่างกายและยังเพราะว่าขีปนาวุธมีเส้นทางการเคลื่อนที่คล้ายงูเลื้อย ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงแบบแรก มักถูกใช้และลอกเลียนแบบอย่างกว้างขวาง ถึงกระนั้นแบบต่างๆ และการพัฒนาของมันยังคงอยู่ในประจำการในหลายกองทัพอากาศหลังจากที่มันทำงานมากว่าห้าทศวรรษ เมื่อไซด์ไวน์เดอร์เริ่มถูกใช้ นักบินของนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่า"ฟ็อกซ์ ทู" (Fox two) ทางวิทยุสื่อสาร เช่นเดียวกับขีปนาวุธติดตามความร้อนแบบอื่นๆ

ไซด์ไวน์เดอร์ประมาณ 110,000 ลูกได้ถูกสร้างขึ้นมาซึ่งอาจมีเพียงหนึ่งเปอร์เซ็นท์เท่านั้นที่ใช้ไปในการต่อสู้ ส่งผลให้มีการสังหารไป 250-300 ทั่วโลก ขีปนาวุธนั้นถูกออกแบบมาอย่างง่ายดาย[1]

หลักฟิสิกส์ในการใช้อินฟราเรด

ในทศวรรษที่ 1920 มีการค้นพบว่าการเผยสารประกอบตัวนำกำมะถันให้กับอินฟราเรดจะลดการต้านทานไฟฟ้าของการผสมสาร สิ่งนี้เป็นตัวอย่างของสิ่งที่เรียกว่า"โฟโตคอนดักทิวิตี้" (อังกฤษ: photoconductivity) สิ่งนี้ยังสามารถเปล่งแสงได้โดยคลื่นความยาวของแสง[2] สิ่งดังกล่าวสามารถวัดขนาดผลในปัจจุบันและจากนั้นก็ส่งต่อผลดังกล่าวเพื่อเกิดการกระทำ—ในกรณีนี้ หัวที่หาเป้าจะส่งผลให้ขีปนาวุธเพื่อบินตรงไปที่แหล่งความร้อน

ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง กองกำลังส่วนใหญ่พยายามที่จะสร้างระบบมองกลางคืนโดยใช้เครื่องตรวจจับตัวนำกำมะถันและจอมองเพิ่มความเข้มข้น ส่วนใหญ่สำหรับการตรวจจับเครื่องบินในระยะไกล แต่ก็ไม่มีการพิสูจน์ใดๆ ที่พบว่าประสบผลสำเร็จและมีเพียงระบบสแปนเนอร์ (Spanner) ของเยอรมันเท่านั้นที่เข้าสู่การผลิต สแปนเนอร์ใช้ท่อมองขนาดยาวฉายผ่านจอของเครื่องบินเพื่อให้นักบินมองเห็นสิ่งที่อยู่ข้างหน้าได้อย่างชัดเจนแต่มันก็มีพิสัยที่จำกัด โครงการทั้งหมดนี้จบลงด้วยการใช้เรดาร์ทางอากาศ

เครื่องตรวจจับอินฟราเรดถูกใช้อย่างกว้างขวางบนฐานภาคพื้นดิน สิ่งเหล่านี้ยังรวมทั้งทุกสิ่งจากระบบมองเห็นสำหรับรถถังและแม้แต่พลซุ่มยิง เพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ในตอนกลางคืน อย่างไรก็ตามเยอรมนียังได้ทำการทดลองระบบนำวิถีขีปนาวุธอัตโนมัติโดยตั้งใจที่จะนำไปหาความร้อนจากเครื่องยนต์เครื่องบิน มันใ้ช้เครื่องตรวจจับเพียงเครื่องเดียวตรงกล้องมองขนาดเล็ก พร้อมกังหันสี่ตำแหน่งระหว่างเครื่องตรวจจับและกล้องโทรทรรศน์ กล้งอโทรทรรศน์จะส่งผลให้สัญญาณตกลงบนเครื่องตรวจจับเพื่อเพิ่มและลดโดยขึ้นอยู่กับว่าสัญญาณถูกกั้นจากกังหันมากแค่ไหน จากนั้นสัญญาณนี้จะถูกใช้เป็นเสมือนนักบินอัตโนมัติ โดยจากนั้นจะเริ่มหันไปที่แกนของกล้องโทรทรรศน์ ขีปนาวุธถูกนำวิถีไปที่เป้าหมายโดยใช้สิ่งที่เรียกว่าการไล่ตาม (pure pursuit) การพัฒนาไม่สิ้นสุดจนกระทั่งสงครามจบลง

ข้อมูลทั่วไป

  • ประเภท AIR TO AIR MISSILE
  • ผู้ผลิต LOCKHEED MARTIN USA.
  • ปีผลิต 1956
  • ระยะยิง 10-18 MILE (depending on altitude)
  • ความเร็ว SUPERSONIC MACH 2.5
  • ดินขับ SOLID STATE
  • หัวรบ 20.8-25 LBS. BLAST FRAGMENTATION
  • ระบบนำวิถี INFRARED HOMIMG SYSTEM
  1. Air Weapons: Beyond Sidewinder
  2. Encyclopedia Britannica