ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วนอุทยานแห่งชาติเขาพระบาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
Voradol (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}


'''วนอุทยานแห่งชาติเขาพระบาท''' เป็นพื้นที่อยู่ในเขตตำบลตากออก [[อำเภอบ้านตาก]] [[จังหวัดตาก]] มีสภาพเป็นพื้นที่เนินกรวดครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 30 ตารางกิโลเมตร เป็นสถานที่ที่มีการขุดค้นพบท่อน[[ไม้กลายเป็นหิน]]จำนวนมากฝังตัวอยู่ใต้เนินกรวด [[กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]] พร้อมด้วยจังหวัดตากได้พัฒนาพื้นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยการขุดท่อนไม้กลายเป็นหินจำนวน 7 ท่อน และตัดถนนเข้าไปในพื้นที่ ไม้บางท่อนมีความยาวมากกว่า 70 เมตร ถือเป็นแหล่งซากดึกดำบรรพ์พืชที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีท่อนไม้กลายเป็นหินที่ถือว่าใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ท่อนไม้บางท่อนกรมทรัพยากรธรณีได้ตรวจพิสูจน์แล้วว่าเป็น[[ไม้ยวน]]และ[[ไม้ตะคร้อ]] อย่างไรก็ตามยังมีท่อนไม้กลายเป็นหินอีกมากที่ยังไม่ได้รับการตรวจพิสูจน์
'''วนอุทยานเขาพระบาท''' เป็นพื้นที่อยู่ในเขตตำบลตากออก [[อำเภอบ้านตาก]] [[จังหวัดตาก]] มีสภาพเป็นพื้นที่เนินกรวดครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 30 ตารางกิโลเมตร เป็นสถานที่ที่มีการขุดค้นพบท่อน[[ไม้กลายเป็นหิน]]จำนวนมากฝังตัวอยู่ใต้เนินกรวด [[กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]] พร้อมด้วยจังหวัดตากได้พัฒนาพื้นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยการขุดท่อนไม้กลายเป็นหินจำนวน 7 ท่อน และตัดถนนเข้าไปในพื้นที่ ไม้บางท่อนมีความยาวมากกว่า 70 เมตร ถือเป็นแหล่งซากดึกดำบรรพ์พืชที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีท่อนไม้กลายเป็นหินที่ถือว่าใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ท่อนไม้บางท่อนกรมทรัพยากรธรณีได้ตรวจพิสูจน์แล้วว่าเป็น[[ไม้ยวน]]และ[[ไม้ตะคร้อ]] อย่างไรก็ตามยังมีท่อนไม้กลายเป็นหินอีกมากที่ยังไม่ได้รับการตรวจพิสูจน์

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:26, 15 เมษายน 2552

วนอุทยานเขาพระบาท เป็นพื้นที่อยู่ในเขตตำบลตากออก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก มีสภาพเป็นพื้นที่เนินกรวดครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 30 ตารางกิโลเมตร เป็นสถานที่ที่มีการขุดค้นพบท่อนไม้กลายเป็นหินจำนวนมากฝังตัวอยู่ใต้เนินกรวด กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พร้อมด้วยจังหวัดตากได้พัฒนาพื้นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยการขุดท่อนไม้กลายเป็นหินจำนวน 7 ท่อน และตัดถนนเข้าไปในพื้นที่ ไม้บางท่อนมีความยาวมากกว่า 70 เมตร ถือเป็นแหล่งซากดึกดำบรรพ์พืชที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีท่อนไม้กลายเป็นหินที่ถือว่าใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย ท่อนไม้บางท่อนกรมทรัพยากรธรณีได้ตรวจพิสูจน์แล้วว่าเป็นไม้ยวนและไม้ตะคร้อ อย่างไรก็ตามยังมีท่อนไม้กลายเป็นหินอีกมากที่ยังไม่ได้รับการตรวจพิสูจน์