ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษากะเหรี่ยง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BOTarate (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fr:Langues karens
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
[[de:Karenische Sprachen]]
[[de:Karenische Sprachen]]
[[en:Karen languages]]
[[en:Karen languages]]
[[fr:Langues karens]]
[[lt:Kajinų kalbos]]
[[lt:Kajinų kalbos]]
[[simple:Karen languages]]
[[simple:Karen languages]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:39, 6 เมษายน 2552

ภาษากะเหรี่ยง
ประเทศที่มีการพูดรัฐกะเหรี่ยงและรัฐกะยา ประเทศพม่า, ภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศไทย
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรพม่าและอักษรละตินในพม่า อักษรละตินและอักษรไทยในไทย
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการรัฐกะเหรี่ยง ประเทศพม่า
รหัสภาษา
ISO 639-2sit (B)
[[ISO639-3:|]] (T)
ISO 639-3kar

ภาษากะเหรี่ยงเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีผู้พูดภาษากะเหรี่ยงอยู่ในไทยและพม่า แบ่งเป็นภาษาย่อยได้ 8 ภาษา คือ [1]

  • ภาษากะเหรี่ยงสะกอ
  • ภาษากะเหรี่ยงโป
  • ภาษากะยา หรือภาษากะเหรี่ยงบาเว ยังแบ่งย่อยได้อีกหลายภาษา
  • ภาษากะเหรี่ยงเฆโก
  • ภาษากะเหรี่ยงมอบวา แบ่งเป็นภาษาถิ่นได้อีก 2 ภาษา คือ ภาษากะเหรี่ยงบิลีจีและภาษากะเหรี่ยงเดอมูฮา
  • ภาษากะเหรี่ยงปาไลชิ
  • ภาษากะเหรี่ยงต้องสู้หรือตองทู
  • ภาษากะเหรี่ยงเวเวา

นอกจากนี้ยังมีภาษากะเหรี่ยงสำเนียงอื่นๆอีกเช่น

อ้างอิง

  1. เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. ภาษาถิ่นตระกูลไทย. กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล. 2531.
  2. สมทรง บุรุษพัฒน์และสรินยา คำเมือง. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: กะเหรี่ยงกะยัน. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. มหาวิทยาลัยมหิดล. 2542