ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พ.น.บุญรอด (คุย | ส่วนร่วม)
ลบ หมวดหมู่:หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ออก ด้วยสจห.
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้ <poem>
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดกล่องข้อมูล}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}

'''เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน''' หรือที่นิยมเรียกว่า '''ฉันจึงมาหาความหมาย''' เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา "หัวก้าวหน้า" ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้อง[[ประชาธิปไตย]] ใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516]] และ [[เหตุการณ์ 6 ตุลา|6 ตุลาคม 2519]] เนื้อหาของกลอนสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่งตั้งคำถามเชิงเสียดสีเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาในมหาวิทยาลัย
'''เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน''' หรือที่นิยมเรียกว่า '''ฉันจึงมาหาความหมาย''' เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา "หัวก้าวหน้า" ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้อง[[ประชาธิปไตย]] ใน[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516]] และ [[เหตุการณ์ 6 ตุลา|6 ตุลาคม 2519]] เนื้อหาของกลอนสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่งตั้งคำถามเชิงเสียดสีเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาในมหาวิทยาลัย


วรรคทองที่ติดปากที่สุดของกลอนนี้ และเป็นที่มาของชื่อที่เป็นที่นิยม คือ วรรคที่ว่า:
วรรคทองที่ติดปากที่สุดของกลอนนี้{{ใครกล่าว}} และเป็นที่มาของชื่อที่เป็นที่นิยม คือ วรรคที่ว่า:


<poem>
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง<br />
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง
ฉันจึง มาหา ความหมาย<br />
ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย<br />
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย
สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว
สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว
</poem>


กลอนชิ้นนี้แต่งโดย [[วิทยากร เชียงกูล]] เมื่อสมัยยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
กลอนชิ้นนี้แต่งโดย [[วิทยากร เชียงกูล]] เมื่อสมัยยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
บรรทัด 14: บรรทัด 16:


== กลอนทั้งหมด ==
== กลอนทั้งหมด ==
<poem>
ดอกหาง นกยูง สีแดงฉาน<br />
ดอกหาง นกยูง สีแดงฉาน
บานอยู่เต็มฟากสวรรค์<br />
บานอยู่เต็มฟากสวรรค์
คนเดินผ่าน ไปมากัน<br />
คนเดินผ่าน ไปมากัน
เขาด้นดั้น หาสิ่งใด
เขาด้นดั้น หาสิ่งใด


ปัญญา มีขาย ที่นี่หรือ<br />
ปัญญา มีขาย ที่นี่หรือ
จะแย่งซื้อ ได้ที่ไหน<br />
จะแย่งซื้อ ได้ที่ไหน
อย่างที่โก้ หรูหรา ราคาเท่าใด<br />
อย่างที่โก้ หรูหรา ราคาเท่าใด
จะให้พ่อ ขายนา มาแลกเอา
จะให้พ่อ ขายนา มาแลกเอา


ฉันมา ฉันเห็น ฉันแพ้<br />
ฉันมา ฉันเห็น ฉันแพ้
ยินแต่ เสียงด่า ว่าโง่เง่า<br />
ยินแต่ เสียงด่า ว่าโง่เง่า
เพลงที่นี่ ไม่หวาน เหมือนบ้านเรา<br />
เพลงที่นี่ ไม่หวาน เหมือนบ้านเรา
ใครไม่เข้า ถึงพอ เขาเยาะเย้ย
ใครไม่เข้า ถึงพอ เขาเยาะเย้ย


นี่จะให้ อะไร กันบ้างไหม<br />
นี่จะให้ อะไร กันบ้างไหม
มหาวิทยาลัย ใหญ่โตเหวย<br />
มหาวิทยาลัย ใหญ่โตเหวย
แม้นท่าน มิอาจให้ อะไรเลย<br />
แม้นท่าน มิอาจให้ อะไรเลย
วานนิ่งเฉย อย่าบ่นอย่าโวยวาย
วานนิ่งเฉย อย่าบ่นอย่าโวยวาย


ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง<br />
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง
ฉันจึง มาหา ความหมาย<br />
ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย<br />
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย
สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว
สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว


มืดจริงหนอ สถาบัน อันกว้างขวาง<br />
มืดจริงหนอ สถาบัน อันกว้างขวาง
ปล่อยฉัน อ้างว้าง ขับเคี่ยว<br />
ปล่อยฉัน อ้างว้าง ขับเคี่ยว
เดินหา ซื้อปัญญา จนหน้าเซียว<br />
เดินหา ซื้อปัญญา จนหน้าเซียว
เทียวมา เทียวไป ไม่รู้วัน
เทียวมา เทียวไป ไม่รู้วัน


ดอกหางนกยูง สีแดงฉาน<br />
ดอกหางนกยูง สีแดงฉาน
บานอยู่เต็ม ฟากสวรรค์<br />
บานอยู่เต็ม ฟากสวรรค์
เกินพอ ให้เจ้าแบ่งปัน<br />
เกินพอ ให้เจ้าแบ่งปัน
จงเก็บกัน อย่าเดิน ผ่านเลยไป
จงเก็บกัน อย่าเดิน ผ่านเลยไป
</poem>

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:03, 4 เมษายน 2552

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน หรือที่นิยมเรียกว่า ฉันจึงมาหาความหมาย เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา "หัวก้าวหน้า" ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้องประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 เนื้อหาของกลอนสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่งตั้งคำถามเชิงเสียดสีเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาในมหาวิทยาลัย

วรรคทองที่ติดปากที่สุดของกลอนนี้[ใคร?] และเป็นที่มาของชื่อที่เป็นที่นิยม คือ วรรคที่ว่า:

ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง
ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย
สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว

กลอนชิ้นนี้แต่งโดย วิทยากร เชียงกูล เมื่อสมัยยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่งขึ้นสำหรับ วันสถาปนาธรรมศาสตร์ ใน พ.ศ. 2511 ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ยูงทอง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2511 และถูกตีพิมพ์อีกครั้งหนึ่ง ในหนังสือชื่อ "ฉันจึงมาหาความหมาย" ซึ่งเป็นการรวบรวมผลงานจำพวกบทกวีของวิทยากรในช่วงสมัยที่ยังศึกษาอยู่และช่วงที่เพิ่งจบ

กลอนทั้งหมด

ดอกหาง นกยูง สีแดงฉาน
บานอยู่เต็มฟากสวรรค์
คนเดินผ่าน ไปมากัน
เขาด้นดั้น หาสิ่งใด

ปัญญา มีขาย ที่นี่หรือ
จะแย่งซื้อ ได้ที่ไหน
อย่างที่โก้ หรูหรา ราคาเท่าใด
จะให้พ่อ ขายนา มาแลกเอา

ฉันมา ฉันเห็น ฉันแพ้
ยินแต่ เสียงด่า ว่าโง่เง่า
เพลงที่นี่ ไม่หวาน เหมือนบ้านเรา
ใครไม่เข้า ถึงพอ เขาเยาะเย้ย

นี่จะให้ อะไร กันบ้างไหม
มหาวิทยาลัย ใหญ่โตเหวย
แม้นท่าน มิอาจให้ อะไรเลย
วานนิ่งเฉย อย่าบ่นอย่าโวยวาย

ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง
ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย
สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว

มืดจริงหนอ สถาบัน อันกว้างขวาง
ปล่อยฉัน อ้างว้าง ขับเคี่ยว
เดินหา ซื้อปัญญา จนหน้าเซียว
เทียวมา เทียวไป ไม่รู้วัน

ดอกหางนกยูง สีแดงฉาน
บานอยู่เต็ม ฟากสวรรค์
เกินพอ ให้เจ้าแบ่งปัน
จงเก็บกัน อย่าเดิน ผ่านเลยไป

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น