ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มูลค่าความเสี่ยง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''มูลค่าความเสี่ยง''' ({{lang-en|Value-at-Risk ย่อ VaR}}) หมายถึง ผลขาดทุนสูงสุดที่เกิดจาก[[การลงทุน]]ใน[[หลักทรัพย์]]เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยผู้ลงทุนอาจประสบผลขาดทุนมากกว่ามูลค่า[[ความเสี่ยง]]ได้ แต่โอกาสที่จะเกิดขึ้นมีน้อยมาก
{{รอการตรวจสอบ}}
'''มูลค่าความเสี่ยง''' (Value-at-Risk ย่อ VaR) หมายถึง ผลขาดทุนสูงสุดที่เกิดจาก[[การลงทุน]]ใน[[หลักทรัพย์]]เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยผู้ลงทุนอาจประสบผลขาดทุนมากกว่ามูลค่า[[ความเสี่ยง]]ได้ แต่โอกาสที่จะเกิดขึ้นมีน้อยมาก


== วิธีการคำนวณมูลค่าความเสี่ยง ==
== วิธีการคำนวณมูลค่าความเสี่ยง ==
บรรทัด 9: บรรทัด 8:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* อัญญา ขันธวิทย์. 2547. การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย์. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
* อัญญา ขันธวิทย์. 2547. การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย์. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
* Jorion, P.,Value at Risk: The New Benchmark for Managing Financial Risk
* Jorion, P.,Value at Risk: The New Benchmark for Managing Financial Risk
{{จบอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:การลงทุน]]
[[หมวดหมู่:การลงทุน]]
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:23, 31 มีนาคม 2552

มูลค่าความเสี่ยง (อังกฤษ: Value-at-Risk ย่อ VaR) หมายถึง ผลขาดทุนสูงสุดที่เกิดจากการลงทุนในหลักทรัพย์เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยผู้ลงทุนอาจประสบผลขาดทุนมากกว่ามูลค่าความเสี่ยงได้ แต่โอกาสที่จะเกิดขึ้นมีน้อยมาก

วิธีการคำนวณมูลค่าความเสี่ยง

การคำนวณมูลค่าความเสี่ยงทำได้หลายวิธีด้วยกัน ซึ่งแต่ละวิธีมีข้อดีข้อเสียทีแตกต่างกัน

  1. Standardized Approach เป็นวิธีที่มีสูตรการคำนวณสำเร็จทำให้ใช้งานง่าย ต้นทุนต่ำ แต่ตัวแบบจำลองมีข้อจำกัดบางอย่าง เช่น มีสมมติฐานว่าอัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ที่วิเคราะห์ต้องการมีแจกแจงแบบปกติ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วการแจกแจงของอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์อาจไม่เป็นไปตามข้อสมมติฐานได้
  2. Historical Simulation เป็นวิธีที่ลดข้อบกพร่องเรื่องสมมติฐานของ Standardized Approach ด้วยการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากข้อมูจริงที่เกิดขึ้นในอดี ทำให้วิธีนี้ต้องอาศัยฐานข้อมูลจำนวนมากเพื่อใช้ในการวิเคราะห์
  3. Monte Carlo Simulation เป็นวิธีที่ลดข้อบกพร่องของ Standardized Approach และ Historical Simulation แต่เนื่องจากวิธีนีต้องใช้เทคโนโลยี และความรู้ที่สูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนที่เกิดขึ้นย่อมสูงขึ้นด้วย

อ้างอิง

  • อัญญา ขันธวิทย์. 2547. การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย์. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • Jorion, P.,Value at Risk: The New Benchmark for Managing Financial Risk