ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกลช์ชัลทุง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ไกลช์ชอัลทุง''' ({{lang-de|Gleichschaltung}} {{Audio-IPA|De-Gleichschaltung-pronunciation.ogg|[ˈglaiçʃaltʊŋ]}}) หมายถึง "ก…
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ไกลช์ชอัลทุง''' ({{lang-de|Gleichschaltung}} {{Audio-IPA|De-Gleichschaltung-pronunciation.ogg|[ˈglaiçʃaltʊŋ]}}) หมายถึง "การประสานงาน" "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัด[[ลัทธิเฉพาะบุคคล]] โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[เกสตาโป|กองกำลังตำรวจ]]อย่างเข้มงวด
'''ไกลช์ชอัลทุง''' ({{lang-de|Gleichschaltung}}) หมายถึง "การประสานงาน" "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัด[[ลัทธิเฉพาะบุคคล]] โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[เกสตาโป|กองกำลังตำรวจ]]อย่างเข้มงวด

== ทรรศนะโดยทั่วไป ==

ช่วงเวลาระหว่างปี [[ค.ศ. 1933]] จนถึง [[ค.ศ. 1937]] เป็นช่วงเวลาของการกำจัดกลุ่มที่ต่อต้านการปกครองในระบอบนาซี ซึ่งอาจมีอิทธิพลเหนือประชากร อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองอื่น การควบคุมอุตสาหกรรมและศาสนจักร ส่วนองค์กรทางการปกครองที่ไม่สามารถทำลายลงได้ ถูกควบคุมอย่างเด็ดขาดภายใต้นโยบายของรัฐบาล

แนวคิด ''ไกลช์ชอัลทุง'' ดังกล่าวยังได้รวมไปถึงการก่อตั้งองค์กรต่าง ๆ ขึ้นโดยการเกณฑ์ประชากรเข้าตามช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยาวชน โดยทางรัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรลูกเสือเพื่อให้เด็กชายได้ฝึกฝนจนกระทั่งเข้ารับรัฐการทหารในที่สุด ส่วนเด็กหญิงจะได้รับการฝึกจนกระทั่งเข้าทำงานในปศุสัตว์


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:54, 29 มีนาคม 2552

ไกลช์ชอัลทุง (เยอรมัน: Gleichschaltung) หมายถึง "การประสานงาน" "การทำให้เป็นแบบเดียวกัน" เป็นคำที่ใช้เรียกการเปลี่ยนแปลงของพรรคนาซีในการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองเยอรมนีเป็นแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง จุดประสงค์ของแนวความคิดดังกล่าว คือ การกำจัดลัทธิเฉพาะบุคคล โดยการบีบบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตามหลักการเดียวกัน และกำหนดกรอบความคิดให้อยู่ในความเหมาะสม ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของกองกำลังตำรวจอย่างเข้มงวด

ทรรศนะโดยทั่วไป

ช่วงเวลาระหว่างปี ค.ศ. 1933 จนถึง ค.ศ. 1937 เป็นช่วงเวลาของการกำจัดกลุ่มที่ต่อต้านการปกครองในระบอบนาซี ซึ่งอาจมีอิทธิพลเหนือประชากร อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองอื่น การควบคุมอุตสาหกรรมและศาสนจักร ส่วนองค์กรทางการปกครองที่ไม่สามารถทำลายลงได้ ถูกควบคุมอย่างเด็ดขาดภายใต้นโยบายของรัฐบาล

แนวคิด ไกลช์ชอัลทุง ดังกล่าวยังได้รวมไปถึงการก่อตั้งองค์กรต่าง ๆ ขึ้นโดยการเกณฑ์ประชากรเข้าตามช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เยาวชน โดยทางรัฐบาลได้จัดตั้งองค์กรลูกเสือเพื่อให้เด็กชายได้ฝึกฝนจนกระทั่งเข้ารับรัฐการทหารในที่สุด ส่วนเด็กหญิงจะได้รับการฝึกจนกระทั่งเข้าทำงานในปศุสัตว์

ดูเพิ่ม