ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โภชนาการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
<nowiki>ใส่ข้อความที่ไม่จัดรูปแบบที่นี่</nowiki>[[ไฟล์:MyPyramid1.png|right|thumb|270px|ภาพพีระมิดอาหารซึ่งเผยแพร่ในปี 2548 เพื่อแนะนำปริมาณการบริโภคอาหาร]]
[[ไฟล์:MyPyramid1.png|right|thumb|270px|ภาพพีระมิดอาหารซึ่งเผยแพร่ในปี 2548 เพื่อแนะนำปริมาณการบริโภคอาหาร]]


'''โภชนาการ''' เป็นสาขาวิชาทาง[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับ[[สุขภาพ]]และโรคภัยไข้เจ็บ [[นักโภชนาการ]]เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพซึ่งมีความรู้ความชำนาญในสาขานี้
'''โภชนาการ''' เป็นสาขาวิชาทาง[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับ[[สุขภาพ]]และโรคภัยไข้เจ็บ [[นักโภชนาการ]]เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพซึ่งมีความรู้ความชำนาญในสาขานี้
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
=== วิตามิน ===
=== วิตามิน ===
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}
=== กรดไขมัน ==
=== กรดไขมัน ===
{{โครงส่วน}}
กรดไขมันเป็นไขมันชนิดหนึ่งที่อยู่ในรูป lipid ซึ่งแบ่งหลักๆเป็น 2 ประเภทคือ
1 กรดไขมันจำเป็น คือ กรดไขมันที่ร่างกายเราจำเป็นต้องได้รับจากอาหาร เพื่อ การสังเคราะห์ฮอร์โมนและการทำงานของฮอร์โมนหลายๆตัว รวมถึงเป็นส่วนประกอบหลักของร่างกาย อีกทั้งยังเป็นฉนวนกันภัยแก่ร่างกาย ได้แก่ กลุ่มโอเมกา3,6 [กรดไขมันโนเลอิก และ กรดไขมันแอลฟาไลโนเลอิก]และยังรวมถึงไขมันที่รวมตัวกับโปรตีนที่เรียกว่า ไลโพโปรตีน ซึ่งร่างกายเราไม่เพียงแต่ต้องการอย่างเดียวแต่ยังส่งผลถึงสุขภาพที่ดีอีกด้วย
2 กรดไขมันไม่จำเป็น คือ กรดไขมันที่ร่างกายเราไม่ต้องการถ้าร่างกายได้รับมากเกินไปจะก่อให้เกิดโรคต่างๆตามมาเช่น โรคหัวใจตีบตัน อีกทั้งยังมีโทษอีกมากมายเช่น เพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจพิบัติได้ เป็นต้น


=== น้ำตาล ===
=== น้ำตาล ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:54, 29 มีนาคม 2552

ภาพพีระมิดอาหารซึ่งเผยแพร่ในปี 2548 เพื่อแนะนำปริมาณการบริโภคอาหาร

โภชนาการ เป็นสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับสุขภาพและโรคภัยไข้เจ็บ นักโภชนาการเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพซึ่งมีความรู้ความชำนาญในสาขานี้

โภชนาการกับสุขภาพ

กรดอะมิโน

ร่างกายต้องการกรดอะมิโนเพื่อสร้างโปรตีนขึ้นใหม่และเพื่อแทนที่โปรตีนที่เสื่อมสภาพซึ่งจะถูกขับถ่ายออกทางปัสสาวะ ในร่างกายของสัตว์ ความต้องการกรดอะมิโนชนิดใดๆจะขึ้นอยู่กับว่ากรดอะมิโนชนิดนั้นๆเป็นกรดอะมิโนที่จำเป็น (ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้) หรือกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น (ร่างกายสามารถสร้างขึ้นเองได้จากสารประกอบไนโตรเจน) การบริโภคอาหารที่มีกรดอะมิโนที่จำเป็นในปริมาณที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของสัตว์

วิตามิน

กรดไขมัน

น้ำตาล

แบคทีเรียในลำไส้

ในปัจจุบันเป็นที่รู้กันว่าระบบย่อยอาหารของมนุษย์ต้องอาศัยแบคทีเรียบางชนิดที่มีปฏิกิริยาต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป บทบาทและความสำคัญของแบคทีเรียในลำไส้ยังคงเป็นที่ศึกษาค้นคว้ากันอยู่ ในอวัยวะย่อยอาหารมีแบคทีเรียทั้งที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษอาศัยอยู่ การบริโภคอาหารที่มีสารอาหารที่มีประโยชน์น้อยแต่มีน้ำตาลมากจะเร่งให้แบคทีเรียที่เป็นโทษเจริญเติบโตได้มากขึ้น แบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มโปรไบโอติค แบคทีเรียที่สำคัญ ได้แก่ แบคทีเรียสกุลแลคโตบาซิลลัส เป็นต้น

โภชนาการกับการกีฬา

โภชนาการมีความสำคัญมากในการพัฒนาสมรรถภาพทางด้านกีฬา วิธีพัฒนาสมรรถภาพโดยการบริโภคที่ทำการโดยทั่วไปคือ บริโภคโปรตีนในปริมาณมากๆ โดยเฉพาะเนื้อสัตว์ที่มีสีแดง เพื่อช่วยในการสร้างกล้ามเนื้อ ซึ่งประสิทธิภาพของวิธีดังกล่าวยังไม่แน่ชัด เพราะปริมาณของโปรตีนในอาหารทั่วไปที่บริโภคกันในทุกวันนี้ ก็มีมากกว่าปริมาณของโปรตีนในกล้ามเนื้อที่ร่างกายสังเคราะห์ได้ในแต่ละวัน

ในการเร่งการสังเคราะห์กล้ามเนื้อ นักกีฬาจะมีเป้าหมายในการหาวิธีที่สามารถฟื้นฟูเนื้อเยื่อได้เร็วที่สุด การทำให้กล้ามเนื้อเย็นตัวหรือร้อนขึ้นเพื่อลดอาการบวมและกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด การพักผ่อนอย่างเพียงพอ การบริหารร่างกายอย่างเบาๆ การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ รวมทั้งการบริโภคอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ เป็นหนทางที่ดีสำหรับการฟื้นฟูเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อ และก่อนเล่นกีฬา การดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มที่มีสารละลายอิเล็กโทรไลต์ก็จะช่วยป้องกันการสูญเสียน้ำของร่างกายได้

โภชนาการกับอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร

ตั้งแต่ยุคสมัยของการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อประมาณ 200 ปีก่อน อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารได้มีเทคโนโลยีต่างๆที่ช่วยให้เก็บอาหารให้คงความสดได้นานขึ้น และแปรรูปอาหารให้มีสภาพเปลี่ยนไปจากที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ การแช่เย็นเป็นเทคโนโลยีขั้นต้นที่สามารถรักษาความสดได้ ขณะที่เทคโนโลยีอื่นๆจะช่วยให้เก็บรักษาอาหารไว้ได้นานที่สุดโดยไม่เน่าเสีย