ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
| prizes = [[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]] (1907)
| prizes = [[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]] (1907)
}}
}}
'''ชาร์ลส์ หลุยส์ อัลฟงซ์ ลาฟรอง''' (Charles Louis Alphonse Laveran; [[18 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1845]] - [[18 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1922]]) เป็น[[แพทย์]][[ชาวฝรั่งเศส]] ผู้ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1907
'''ชาร์ลส์ หลุยส์ อัลฟงซ์ ลาฟรอง''' (Charles Louis Alphonse Laveran; [[18 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1845]] [[18 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1922]]) เป็น[[แพทย์]][[ชาวฝรั่งเศส]] ผู้ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1907


ในปี ค.ศ. 1880 ขณะที่ลาฟรองทำงานในโรงพยาบาลทหารใน[[คอนสแตนติน]] [[อัลจีเรีย]] เขาได้ค้นพบว่าสาเหตุของ[[มาลาเรีย]]คือเชื้อ[[โพรโตซัว]]หลังจากสังเกตปรสิตใน[[สเมียร์เลือด]]ที่ได้จากผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคมาลาเรีย<ref>{{cite journal |author=Bruce-Chuvatt LJ |title=Alphonse Laveran's discovery 100 years ago and today's global fight against malaria |journal=J R Soc Med |volume=74 |issue=7 |pages=531–6 |year=1981 |month=July |pmid=7021827 |pmc=1439072 |doi= |url=http://www.pubmedcentral.nih.gov/picrender.fcgi?artid=1439072&blobtype=pdf}}</ref> การค้นพบดังกล่าวเป็นครั้งแรกที่แสดงให้เห็นว่าโพรโตซัวสามารถก่อ[[โรค]]ได้ หลังจากนั้นลาฟรองได้ทำงานเกี่ยวกับโรค[[ทริพาโนโซม]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[โรคเหงาหลับ]] (sleeping sickness) <ref>{{cite journal |author=Haas LF |title=Neurological stamp. Charles Louis Alphonse Laveran (1845-1922) |journal=J. Neurol. Neurosurg. Psychiatr. |volume=67 |issue=4 |pages=520 |year=1999 |month=October |pmid=10486402 |url=http://jnnp.bmj.com/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=10486402}}</ref> จากงานการค้นพบโรคจากเชื้อโพรโตซัวดังกล่าวทำให้เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1907
ในปี ค.ศ. 1880 ขณะที่ลาฟรองทำงานในโรงพยาบาลทหารใน[[คอนสแตนติน]] [[อัลจีเรีย]] เขาได้ค้นพบว่าสาเหตุของ[[มาลาเรีย]]คือเชื้อ[[โพรโตซัว]]หลังจากสังเกตปรสิตใน[[สเมียร์เลือด]]ที่ได้จากผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคมาลาเรีย<ref>{{cite journal |author=Bruce-Chuvatt LJ |title=Alphonse Laveran's discovery 100 years ago and today's global fight against malaria |journal=J R Soc Med |volume=74 |issue=7 |pages=531–6 |year=1981 |month=July |pmid=7021827 |pmc=1439072 |doi= |url=http://www.pubmedcentral.nih.gov/picrender.fcgi?artid=1439072&blobtype=pdf}}</ref> การค้นพบดังกล่าวเป็นครั้งแรกที่แสดงให้เห็นว่าโพรโตซัวสามารถก่อ[[โรค]]ได้ หลังจากนั้นลาฟรองได้ทำงานเกี่ยวกับโรค[[ทริพาโนโซม]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[โรคเหงาหลับ]] (sleeping sickness) <ref>{{cite journal |author=Haas LF |title=Neurological stamp. Charles Louis Alphonse Laveran (1845-1922) |journal=J. Neurol. Neurosurg. Psychiatr. |volume=67 |issue=4 |pages=520 |year=1999 |month=October |pmid=10486402 |url=http://jnnp.bmj.com/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=10486402}}</ref> จากงานการค้นพบโรคจากเชื้อโพรโตซัวดังกล่าวทำให้เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1907

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:03, 25 มีนาคม 2552

ชาร์ลส์ หลุยส์ อัลฟงซ์ ลาฟรอง
ไฟล์:Alphonse Laveran.jpg
เสียชีวิตปารีส, ฝรั่งเศส
สัญชาติฝรั่งเศส
มีชื่อเสียงจากทริพาโนโซม, มาลาเรีย
รางวัลรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (1907)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาแพทยศาสตร์

ชาร์ลส์ หลุยส์ อัลฟงซ์ ลาฟรอง (Charles Louis Alphonse Laveran; 18 มิถุนายน ค.ศ. 184518 พฤษภาคม ค.ศ. 1922) เป็นแพทย์ชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี ค.ศ. 1907

ในปี ค.ศ. 1880 ขณะที่ลาฟรองทำงานในโรงพยาบาลทหารในคอนสแตนติน อัลจีเรีย เขาได้ค้นพบว่าสาเหตุของมาลาเรียคือเชื้อโพรโตซัวหลังจากสังเกตปรสิตในสเมียร์เลือดที่ได้จากผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคมาลาเรีย[1] การค้นพบดังกล่าวเป็นครั้งแรกที่แสดงให้เห็นว่าโพรโตซัวสามารถก่อโรคได้ หลังจากนั้นลาฟรองได้ทำงานเกี่ยวกับโรคทริพาโนโซม โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเหงาหลับ (sleeping sickness) [2] จากงานการค้นพบโรคจากเชื้อโพรโตซัวดังกล่าวทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี ค.ศ. 1907

ศพของชาร์ลส์ หลุยส์ อัลฟงซ์ ลาฟรองได้รับการฝังที่สุสานมงต์ปาร์นาส (Cimetière du Montparnasse) ในปารีส

อ้างอิง

  1. Bruce-Chuvatt LJ (1981). "Alphonse Laveran's discovery 100 years ago and today's global fight against malaria". J R Soc Med. 74 (7): 531–6. PMC 1439072. PMID 7021827. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  2. Haas LF (1999). "Neurological stamp. Charles Louis Alphonse Laveran (1845-1922)". J. Neurol. Neurosurg. Psychiatr. 67 (4): 520. PMID 10486402. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  • Nye, Edwin R (2002), "Alphonse Laveran (1845-1922) : discoverer of the malarial parasite and Nobel laureate, 1907.", Journal of medical biography (ตีพิมพ์ 2002 May), vol. 10 no. 2, pp. 81–7, PMID 11956550 {{citation}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |publication-date= (help)
  • Garnham, P C (1967), "Presidential address: reflections on Laveran, Marchiafava, Golgi, Koch and Danilewsky after sixty years.", Trans. R. Soc. Trop. Med. Hyg., vol. 61 no. 6, pp. 753–64, PMID 4865951
  • CDC profile

แหล่งข้อมูลอื่น