ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากแหว่งเพดานโหว่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 33: บรรทัด 33:
<gallery>
<gallery>
ไฟล์:Cleftbefore.jpg|เด็กชายอายุ 3 เดือนปากแหว่งข้างเดียวไม่สมบูรณ์ ก่อนได้รับการผ่าตัด
ไฟล์:Cleftbefore.jpg|เด็กชายอายุ 3 เดือนปากแหว่งข้างเดียวไม่สมบูรณ์ ก่อนได้รับการผ่าตัด
ไฟล์:Cleftafter.jpg| 1 เดือนหลังจากผ่าตัด
ไฟล์:Cleftafter.jpg|เด็กชายคนเดียวกัน 1 เดือนหลังจากผ่าตัด
ไฟล์:Cleftafter2years.jpg|เด็กชายคนเดียวกันอายุ 1 ปีครึ่ง สังเกตว่าแผลเป็นจะดูจางลงตามอายุ
ไฟล์:Cleftafter2years.jpg|เด็กชายคนเดียวกันอายุ 1 ปี 5 เดือน สังเกตว่าแผลเป็นจะดูจางลงตามอายุ
</gallery>
</gallery>
</center>
</center>
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
<center>
<center>
<gallery>
<gallery>
ไฟล์:13900470_3PREOPERATION0.jpg|เด็กหญิงอายุ 6 เดือนปากแหว่งข้างเดียวสมบูรณ์ ก่อนได้รับการผ่าตัด
ไฟล์:13900470_3PREOPERATION0.jpg|6 month old girl before going into surgery to have her unilateral complete cleft lip repaired.
ไฟล์:10_months.jpg|The same girl, 1 month after the surgery.
ไฟล์:10_months.jpg|The same girl, 1 month after the surgery.
ไฟล์:66_months.jpg|Again the same girl, age 5.4 years old. Note how the scar gets less visible with age.
ไฟล์:66_months.jpg|Again the same girl, age 5.4 years old. Note how the scar gets less visible with age.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:25, 24 มีนาคม 2552

ปากแหว่งเพดานโหว่
(Cleft lip and palate)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10Q35-Q37
ICD-9749
DiseasesDB29604 29414
eMedicineped/2679

ปากแหว่ง (อังกฤษ: cleft lip; ละติน: cheiloschisis) และเพดานโหว่ (อังกฤษ: cleft palate; ละติน: palatoschisis) หรือมักเรียกรวมกันว่าปากแหว่งเพดานโหว่ เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดของการเจริญของใบหน้าระหว่างการตั้งครรภ์ การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดยการผ่าตัดทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน

ปากแหว่ง

ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า ปากแหว่ง หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง (medial nasal processes) เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ (primary palate) ไม่สมบูรณ์

ปากแหว่งรูปแบบหนึ่งเรียกว่า microform cleft ซึ่งมีความรุนแรงน้อยกว่า มีลักษณะเป็นรอยเล็กๆ บนริมฝีปากหรือมีลักษณะคล้ายแผลเป็นจากริมฝีปากไปยังจมูก ในบางรายกล้ามเนื้อหูรูดปากใต้แผลเป็นนั้นอาจผิดปกติซึ่งต้องได้รับการผ่าตัด ทารกที่เกิดมามีความผิดปกติดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการประเมินความรุนแรงจากแพทย์ด้านใบหน้าและปากทันที

แหล่งข้อมูลอื่น