ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมบัติการแจกแจง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ในทางคณิตศาสตร์ '''สมบัติการแจกแจง''' ({{lang-en|distributivity}}) คือสมบัติหนึ่…
 
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:พีชคณิตนามธรรม]]
[[หมวดหมู่:พีชคณิตมูลฐาน]]
[[หมวดหมู่:การดำเนินการทวิภาค]]

[[ar:توزيعية]]
[[ca:Propietat distributiva]]
[[cs:Distributivita]]
[[de:Distributivgesetz]]
[[en:Distributivity]]
[[et:Distributiivsus]]
[[es:Propiedad distributiva]]
[[eo:Distribueco]]
[[fr:Distributivité]]
[[ko:분배법칙]]
[[is:Dreifiregla]]
[[it:Distributività]]
[[he:חוק הפילוג]]
[[hu:Disztributivitás]]
[[nl:Distributiviteit]]
[[ja:分配法則]]
[[nn:Distributivitet]]
[[pl:Rozdzielność]]
[[pt:Distributividade]]
[[ru:Дистрибутивность]]
[[sl:Distributivnost]]
[[sr:Дистрибутивност]]
[[sh:Distributivnost]]
[[fi:Osittelulaki]]
[[sv:Distributivitet]]
[[uk:Дистрибутивність]]
[[ur:Distributivity]]
[[yi:דיסטריבוטיוו]]
[[zh:分配律]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:35, 20 มีนาคม 2552

ในทางคณิตศาสตร์ สมบัติการแจกแจง (อังกฤษ: distributivity) คือสมบัติหนึ่งที่สามารถมีได้บนการดำเนินการทวิภาค ซึ่งเป็นกรณีทั่วไปของกฎการแจกแจงจากพีชคณิตมูลฐาน ตัวอย่างเช่น

2 × (1 + 3) = (2 × 1) + (2 × 3) = 8

ข้างซ้ายของสมการข้างต้น 2 คูณเข้ากับผลบวกของ 1 กับ 3 ส่วนข้างขวา 2 คูณเข้ากับ 1 และ 3 แต่ละตัวแยกกัน แล้วค่อยนำผลคูณเข้ามาบวก เนื่องจากตัวอย่างข้างต้นให้ผลลัพธ์เท่ากันคือ 8 เราจึงกล่าวว่า การคูณด้วย 2 แจกแจงได้ (distribute) บนการบวกของ 1 กับ 3

เราสามารถแทนที่จำนวนเหล่านั้นด้วยจำนวนจริงใดๆ แล้วทำให้สมการยังคงเป็นจริง เราจึงกล่าวว่า การคูณของจำนวนจริง แจกแจงได้บนการบวกของจำนวนจริง สมบัติการแจกแจงจึงต้องเกี่ยวข้องกับการดำเนินการสองชนิด

นิยาม

กำหนดให้การดำเนินการทวิภาค · และ + บนเซต S และ x, y, z เป็นสมาชิกใดๆ ของเซต S

  • การดำเนินการ · จะเป็นการดำเนินการ แจกแจงข้างซ้าย บนการดำเนินการ + ถ้า
  • การดำเนินการ · จะเป็นการดำเนินการ แจกแจงข้างขวา บนการดำเนินการ + ถ้า
  • การดำเนินการ · จะเป็นการดำเนินการ แจกแจง (distributive) บนการดำเนินการ + ถ้าสามารถแจกแจงได้ทั้งข้างซ้ายและข้างขวา [1]

การดำเนินการ · และ + มิได้หมายความว่าจะต้องเป็นแค่การคูณกับการบวกเท่านั้น แต่หมายถึงการดำเนินการใดๆ ที่ตรงตามเงื่อนไขข้างต้น โปรดสังเกตว่าการดำเนินการ · มีสมบัติการสลับที่ ดังนั้นเงื่อนไขทั้งสามข้างต้นจึงเทียบเท่ากันโดยตรรกะ

อ้างอิง

  1. Ayres, Frank, Schaum's Outline of Modern Abstract Algebra, McGraw-Hill; 1st edition (June 1, 1965). ISBN 0070026556.