ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนางมุนจ็อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| ภาพ =
| ภาพ =
| พระนาม = 문정왕후
| พระนาม = 문정왕후
| พระนามเต็ม =
| พระนามเต็ม = ชองโย อินมยอง มุนจอง ฮวางฮู (성렬인명문정왕후 聖烈仁明文定王后)
| วันประสูติ = [[พ.ศ. 2045]]
| วันประสูติ = [[พ.ศ. 2045]]
| วันสวรรคต = [[พ.ศ. 2108]]
| วันสวรรคต = [[พ.ศ. 2108]]
| พระราชบิดา = ยุน จี เม
| พระราชบิดา = ยุน จี เม รู้จักในนาม "ใต้เท้าพาซาน"
| พระบิดา =
| พระบิดา =
| พระราชมารดา = ไม่ปรากฏ
| พระราชมารดา = ไม่ปรากฏ
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
พระมเหสีมุนจองเป็นธิดา ของใต้เท้า ยุน จี เม แห่งตระกูล ยุน(ฝ่ายเล็ก)
พระมเหสีมุนจองเป็นธิดา ของใต้เท้า ยุน จี เม แห่งตระกูล ยุน(ฝ่ายเล็ก)
พระมเหสีมุนจอง เป็นผู้สำเร็จราชการแทน หรือ ว่าราชการหลังม่าน ให้กับลูกชาย คือ [[พระเจ้าเมียงจง]] เมื่อ[[พระเจ้าเมียงจง]]ยังทรงพระเยาว์ในการปกครองบ้านเมืองด้วยตนเอง จนถึงปี พ.ศ. 2108, เมื่อพระมเหสีมุนจองสิ้นพระชน ทำให้[[พระเจ้าเมียงจง]] ได้ครองอำนาจทั้งหมดเอง
พระมเหสีมุนจอง เป็นผู้สำเร็จราชการแทน หรือ ว่าราชการหลังม่าน ให้กับลูกชาย คือ [[พระเจ้าเมียงจง]] เมื่อ[[พระเจ้าเมียงจง]]ยังทรงพระเยาว์ในการปกครองบ้านเมืองด้วยตนเอง จนถึงปี พ.ศ. 2108, เมื่อพระมเหสีมุนจองสิ้นพระชน ทำให้[[พระเจ้าเมียงจง]] ได้ครองอำนาจทั้งหมดเอง
หลังจากที่พระมเหสีมุนจองสิ้นพระชนม์ ได้รับการเฉลิมพระนามให้เป็น '''ชองโย อินมยอง มุนจอง วังโฮ''' (성렬인명문정왕후 聖烈仁明文定王后)
หลังจากที่พระมเหสีมุนจองสิ้นพระชนม์ ได้รับการเฉลิมพระนามให้เป็น '''ชองโย อินมยอง มุนจอง ฮวางฮู''' (성렬인명문정왕후 聖烈仁明文定王后)
==การปกครอง==
==การปกครอง==
พระมเหสีมุนจอง ทรงมอบที่ดิน และ ที่นาให้กับประชาชนที่อยู่ยากแร้นแค้น ซึ่งท่ดินที่มอบให้แก่ประชาชนนั้น ล้วนเป็นที่ดิน ของเหล่าขุนนางที่ ทุจริต ฉ้อราษฎร์บังหลวง
พระมเหสีมุนจอง ทรงมอบที่ดิน และ ที่นาให้กับประชาชนที่อยู่ยากแร้นแค้น ซึ่งท่ดินที่มอบให้แก่ประชาชนนั้น ล้วนเป็นที่ดิน ของเหล่าขุนนางที่ ทุจริต ฉ้อราษฎร์บังหลวง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:19, 7 มีนาคม 2552

แม่แบบ:กล่องข้อมูล เจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์


พระมเหสีมุนจอง (문정왕후, 文定王后) (พ.ศ. 2045-2108) เป็นพระมเหสีคนที่ 3 ของพระเจ้าจุงจง แห่ง ราชวงศ์โชซอน พระมเหสีมุนจองเป็นธิดา ของใต้เท้า ยุน จี เม แห่งตระกูล ยุน(ฝ่ายเล็ก) พระมเหสีมุนจอง เป็นผู้สำเร็จราชการแทน หรือ ว่าราชการหลังม่าน ให้กับลูกชาย คือ พระเจ้าเมียงจง เมื่อพระเจ้าเมียงจงยังทรงพระเยาว์ในการปกครองบ้านเมืองด้วยตนเอง จนถึงปี พ.ศ. 2108, เมื่อพระมเหสีมุนจองสิ้นพระชน ทำให้พระเจ้าเมียงจง ได้ครองอำนาจทั้งหมดเอง หลังจากที่พระมเหสีมุนจองสิ้นพระชนม์ ได้รับการเฉลิมพระนามให้เป็น ชองโย อินมยอง มุนจอง ฮวางฮู (성렬인명문정왕후 聖烈仁明文定王后)

การปกครอง

พระมเหสีมุนจอง ทรงมอบที่ดิน และ ที่นาให้กับประชาชนที่อยู่ยากแร้นแค้น ซึ่งท่ดินที่มอบให้แก่ประชาชนนั้น ล้วนเป็นที่ดิน ของเหล่าขุนนางที่ ทุจริต ฉ้อราษฎร์บังหลวง

เนื่องจากในสมัยพระเจ้าจุงจง ยังคงมีพระชนชีพอยู่ ขุนนางได้แตกออกเป็นสองฝ่ายคือ ฝ่ายยุนใหญ่ คือเป็นฝ่ายของ ยุน นิม พระมาตุลาของพระเจ้าอินจง ที่สนับสนุนพระเจ้าอินจง ซึ่งในขณะนั้นยังคงอยู่ในตำแหน่ง องค์ชายรัชทายาท หรือ เซจา และฝ่ายยุนเล็ก คือฝ่ายของ ยุน วอน ฮัง พระเชษฐารอง ของ พระมเหสีมุนจอง ซึ่งสนับสนุน พระเจ้าเมียงจง ซึ่งขณะนั้นเป็นยังคงดำรงตำแหน่ง องค์ชายคังวอน เมื่อพระเจ้าอินจงครองราชย์ได้ตามฝ่ายยุนใหญ่ต้องการ ทำให้ฝ่ายยุนให��ดา ของพระเจ้าอินจง ได้ขึ้นครองราชย์แทนในสมัยนี้ ฝ่ายยุนเล็กได้กุมอำนาจการปกครองเกือบทั้งหมด และฝ่ายยุนเล็ก ได้กำจัดฝ่ายยุนใหญ่ทั้งหมด ทำให้สมัยนี้ ยุน วอน ฮัง มีอำนาจ และฉ้อราษฎร์บังหลวง ซึ่งเมื่อ พระมเหสีมุนจอง ในขณะนั้น คือพระพันปีมุนจอง ได้สิ้นพระชนม์ ทำให้ฝ่ายยุนเล็กถูกกวาดล้าง เนื่องจากเสียงคัดค้านของเหล่าขุนนางที่ยื่นฎีกา ให้ปลดและประหาร ยุน วอน ฮัง แก่ พระเจ้าเมียงจง ทำให้ ยุน วอน ฮัง และฝ่ายยุนเล็ก ถูกกวาดล้าง ในสมัยพระเจ้าเมียงจง ด้วย