ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮินะมัตสึริ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Piggy417 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Hina matsuri display.jpg|thumb|300px|right|ฮินะนิงเงียว หรือ ตุ๊กตาฮินะ]]
[[ภาพ:Hina matsuri display.jpg|thumb|300px|right|ฮินะนิงเงียว หรือ ตุ๊กตาฮินะ]]


'''เทศกาลฮินะมัตสุริ''' ([[ภาษาญี่ปุ่น]]: 雛祭り) หรือ '''วันเด็กหญิง''' เป็นเทศกาลของ[[ชาวญี่ปุ่น]]ที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่โบราณ จัดขึ้นในวันที่ [[3 มีนาคม]]ของทุกปี เป็นเทศกาลที่รับอิทธิพลจาก[[วัฒนธรรมจีน]] ตามความเชื่อที่ว่าการปล่อยตุ๊กตาลงน้ำสามารถขจัดเคราะห์ร้ายให้ไปกับตุ๊กตาได้ แต่สหรับ[[ประเทศญี่ปุ่น]]นั้น จะถือว่าเป็นเทศกาลของการอธิษฐานให้ลูกสาวมีความสุข พร้อมกับประสบความสำเร็จในชีวิต
'''เทศกาลฮินะมัตสุริ''' ([[ภาษาญี่ปุ่น]]: 雛祭り) หรือ '''วันเด็กผู้หญิง''' เป็นเทศกาลของ[[ชาวญี่ปุ่น]]ที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่โบราณ จัดขึ้นในวันที่ [[3 มีนาคม]]ของทุกปี เป็นเทศกาลที่รับอิทธิพลจาก[[วัฒนธรรมจีน]] ตามความเชื่อที่ว่าการปล่อยตุ๊กตาลงน้ำสามารถขจัดเคราะห์ร้ายให้ไปกับตุ๊กตาได้ แต่สหรับ[[ประเทศญี่ปุ่น]]นั้น จะถือว่าเป็นเทศกาลของการอธิษฐานให้ลูกสาวมีความสุข พร้อมกับประสบความสำเร็จในชีวิต


เด็กผู้หญิงที่เริ่มเข้าสู่เทศกาลฮินะครั้งแรก จะถูกเรียกว่า ''"ฮัตสึ เซ็กกุ"'' (hatzu-zekku) โดยจะเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ผู้อาวุโสเชีนย่าหรือยาย เพราะพวกเธอจะซื้อตุ๊กตามาจัดโชว์ให้กับหลานสาว
เด็กผู้หญิงที่เริ่มเข้าสู่เทศกาลฮินะครั้งแรก จะถูกเรียกว่า ''"ฮัตสึ เซ็กกุ"'' (hatzu-zekku) โดยจะเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ผู้อาวุโสเชีนย่าหรือยาย เพราะพวกเธอจะซื้อตุ๊กตามาจัดโชว์ให้กับหลานสาว


สิ่งที่มักพบเห็นได้ในช่วงเทศกาลนี้คือการประดับด้วยชุด ''ตุ๊กตาฮินะ'' หรือในชื่อญี่ปุ่นที่ว่า ''ฮินะนิงเงียว'' {{ญี่ปุ่น|雛人形|hinaningyō}} ตามบ้าน ซึ่งตุ๊กตาดังกล่าวเป็นแบบดั้งเดิมทำด้วยมือ แต่งกายตามราชสำนักญี่ปุ่นโบราณ สมัย[[ยุคเฮอัง]] วางไว้บนชั้นปกติจะมีทั้งหมด 7 ชั้น รอบๆ ชั้นจะประดับด้วยเครื่องบูชา เช่น ดอกพีช ข้าว เค้ก และเค้กที่ทำจากข้าวรูปร่างคล้ายเพชร ซึ่งเรียกว่าฮิชิโมจิ (hishimochi) รวมไปถึงสาเกขาว และจิราชิซูชิ (chirashi sushi) ตุ๊กตาที่ส่วนใหญ่จะต้องนำมาวางในชั้น คือ ตุ๊กตาเจ้าชายโอไดริซามะ (Odairi-sama) และเจ้าหญิงโอฮินะซามะ (Ohina-sama) ซึ่งตุ๊กตาทั้งสองตัวนี้ จะถูกวางไว้บนสุดของชั้นวาง รายล้อมไปด้วยข้าราชบริพาร และเครื่องตกแต่งชิ้นเล็กๆ โดยฉากหลังของชั้น จะประดับด้วยฉากที่เป็นสีทอง ให้เหมือนกับคฤหาสน์จำลอง
สิ่งที่มักพบเห็นได้ในช่วงเทศกาลนี้คือการประดับด้วยชุด ''ตุ๊กตาฮินะ'' หรือในชื่อญี่ปุ่นที่ว่า ''ฮินะนิงเงียว'' {{ญี่ปุ่น|雛人形|hinaningyō}} ตามบ้าน ซึ่งตุ๊กตาดังกล่าวเป็นแบบดั้งเดิมทำด้วยมือ แต่งกายตามราชสำนักญี่ปุ่นโบราณ สมัย[[ยุคเฮอัง]] วางไว้บนชั้นปกติจะมีทั้งหมด 7 ชั้น รอบๆ ชั้นจะประดับด้วยเครื่องบูชา เช่น ดอกพีช ข้าว เค้ก และเค้กที่ทำจากข้าวรูปร่างคล้ายเพชร ซึ่งเรียกว่าฮิชิโมจิ (hishimochi) รวมไปถึงสาเกขาว และจิราชิซูชิ (chirashi sushi) ตุ๊กตาที่ส่วนใหญ่จะต้องนำมาวางในชั้น คือ ตุ๊กตาเจ้าชายโอไดริซามะ (Odairi-sama) และเจ้าหญิงโอฮินะซามะ (Ohina-sama) ซึ่งตุ๊กตาทั้งสองตัวนี้ จะถูกวางไว้บนสุดของชั้นวาง รายล้อมไปด้วยข้าราชบริพาร และเครื่องตกแต่งชิ้นเล็กๆ โดยฉากหลังของชั้น จะประดับด้วยฉากที่เป็นสีทอง ให้เหมือนกับคฤหาสน์จำลอง

==อ้างอิง==
* [http://www.thairath.co.th/news.php?section=interesting_news&content=126317 “ฮินะมัตสึริ” เทศกาลตุ๊กตาสำหรับเจ้าหญิงตัวน้อยแห่งแดนอาทิตย์อุทัย]





[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:เทศกาลญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:เทศกาลญี่ปุ่น]]

{{โครง}}


[[cs:Hinamacuri]]
[[cs:Hinamacuri]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:54, 6 มีนาคม 2552

ฮินะนิงเงียว หรือ ตุ๊กตาฮินะ

เทศกาลฮินะมัตสุริ (ภาษาญี่ปุ่น: 雛祭り) หรือ วันเด็กผู้หญิง เป็นเทศกาลของชาวญี่ปุ่นที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่โบราณ จัดขึ้นในวันที่ 3 มีนาคมของทุกปี เป็นเทศกาลที่รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมจีน ตามความเชื่อที่ว่าการปล่อยตุ๊กตาลงน้ำสามารถขจัดเคราะห์ร้ายให้ไปกับตุ๊กตาได้ แต่สหรับประเทศญี่ปุ่นนั้น จะถือว่าเป็นเทศกาลของการอธิษฐานให้ลูกสาวมีความสุข พร้อมกับประสบความสำเร็จในชีวิต

เด็กผู้หญิงที่เริ่มเข้าสู่เทศกาลฮินะครั้งแรก จะถูกเรียกว่า "ฮัตสึ เซ็กกุ" (hatzu-zekku) โดยจะเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ผู้อาวุโสเชีนย่าหรือยาย เพราะพวกเธอจะซื้อตุ๊กตามาจัดโชว์ให้กับหลานสาว

สิ่งที่มักพบเห็นได้ในช่วงเทศกาลนี้คือการประดับด้วยชุด ตุ๊กตาฮินะ หรือในชื่อญี่ปุ่นที่ว่า ฮินะนิงเงียว ญี่ปุ่น: 雛人形โรมาจิhinaningyō ตามบ้าน ซึ่งตุ๊กตาดังกล่าวเป็นแบบดั้งเดิมทำด้วยมือ แต่งกายตามราชสำนักญี่ปุ่นโบราณ สมัยยุคเฮอัง วางไว้บนชั้นปกติจะมีทั้งหมด 7 ชั้น รอบๆ ชั้นจะประดับด้วยเครื่องบูชา เช่น ดอกพีช ข้าว เค้ก และเค้กที่ทำจากข้าวรูปร่างคล้ายเพชร ซึ่งเรียกว่าฮิชิโมจิ (hishimochi) รวมไปถึงสาเกขาว และจิราชิซูชิ (chirashi sushi) ตุ๊กตาที่ส่วนใหญ่จะต้องนำมาวางในชั้น คือ ตุ๊กตาเจ้าชายโอไดริซามะ (Odairi-sama) และเจ้าหญิงโอฮินะซามะ (Ohina-sama) ซึ่งตุ๊กตาทั้งสองตัวนี้ จะถูกวางไว้บนสุดของชั้นวาง รายล้อมไปด้วยข้าราชบริพาร และเครื่องตกแต่งชิ้นเล็กๆ โดยฉากหลังของชั้น จะประดับด้วยฉากที่เป็นสีทอง ให้เหมือนกับคฤหาสน์จำลอง

อ้างอิง