ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แฟร์มีแล็บ"

พิกัด: 41°49′55″N 88°15′26″W / 41.83194°N 88.25722°W / 41.83194; -88.25722
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
ปัจจุบันแฟร์มีแล็บปฏิบัติงานโดยหน่วยงานที่ชื่อว่า Fermi Research Alliance (สหพันธ์เพื่อการวิจัยแฟร์มี) ซึ่งเป็น[[กิจการร่วมค้า|หน่วยงานความร่วมมือ]]ระหว่าง [[มหาวิทยาลัยชิคาโก]] กับ Universities Research Association (URA) ซึ่งเป็นการรวมตัวของห้องวิจัยจาก 91 มหาวิทยาลัย ทั้งในสหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น อิตาลี
ปัจจุบันแฟร์มีแล็บปฏิบัติงานโดยหน่วยงานที่ชื่อว่า Fermi Research Alliance (สหพันธ์เพื่อการวิจัยแฟร์มี) ซึ่งเป็น[[กิจการร่วมค้า|หน่วยงานความร่วมมือ]]ระหว่าง [[มหาวิทยาลัยชิคาโก]] กับ Universities Research Association (URA) ซึ่งเป็นการรวมตัวของห้องวิจัยจาก 91 มหาวิทยาลัย ทั้งในสหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น อิตาลี


เครื่องมือชิ้นสำคัญที่สุดของแฟร์มีแล็บ คือ [[เครื่องเร่งอนุภาค]][[เทวาตรอน]] (Tevatron) มีขนาด[[เส้นรอบวง]] 6.28 กิโลเมตร (3.90 ไมล์) เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก รองจาก[[เครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่]]ของ[[เซิร์น]] ที่กรุง[[เจนีวา]] (มีเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร)
เครื่องมือชิ้นสำคัญที่สุดของแฟร์มีแล็บ คือ [[เครื่องเร่งอนุภาค]][[เทวาตรอน]] (Tevatron) มีขนาด[[เส้นรอบวง]] 6.28 กิโลเมตร (3.90 ไมล์) สามารถเร่งพลังงานอนุภาค[[โปรตอน]]ได้ถึง 1.96 [[อิเล็กตรอนโวลต์|TeV]] เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก รองจาก[[เครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่]]ของ[[เซิร์น]] ที่กรุง[[เจนีวา]] (มีเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร)


ในปี ค.ศ. 1995 การทดลองด้วยเครื่องเร่งอนุภาคที่แฟร์มีแล็บ ได้พิสูจน์ยืนยันการมีอยู่จริงของ [[ควาร์ก]] <ref name="Carithers">{{cite journal |title=Discovery of the Top Quark |author=B. Carithers, P. Grannis |journal=Beam Line |publisher=SLAC |url=http://www.slac.stanford.edu/pubs/beamline/25/3/25-3-carithers.pdf |format=PDF |accessdate=2008-09-23}}</ref> และในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการค้นพบอนุภาคใหม่ที่ประกอบด้วยควาร์ก 3 ตัว ให้ชื่อว่า "โอเมก้า ซับ บี" (Ωb) <ref>{{Cite news|url=http://www.fnal.gov/pub/presspass/press_releases/Dzero_Omega-sub-b.html|title=Fermilab physicists discover "doubly strange" particle|date=2008-09-09}}</ref>
ในปี ค.ศ. 1995 การทดลองด้วยเครื่องเร่งอนุภาคที่แฟร์มีแล็บ ได้พิสูจน์ยืนยันการมีอยู่จริงของ [[ควาร์ก]] <ref name="Carithers">{{cite journal |title=Discovery of the Top Quark |author=B. Carithers, P. Grannis |journal=Beam Line |publisher=SLAC |url=http://www.slac.stanford.edu/pubs/beamline/25/3/25-3-carithers.pdf |format=PDF |accessdate=2008-09-23}}</ref> และในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการค้นพบอนุภาคใหม่ที่ประกอบด้วยควาร์ก 3 ตัว ให้ชื่อว่า "โอเมก้า ซับ บี" (Ωb) <ref>{{Cite news|url=http://www.fnal.gov/pub/presspass/press_releases/Dzero_Omega-sub-b.html|title=Fermilab physicists discover "doubly strange" particle|date=2008-09-09}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:07, 2 มีนาคม 2552

เครื่องเร่งอนุภาคเทวาตรอน (ด้านหลัง) และเครื่องป้อนอนุภาคหลัก (ด้านหน้า) ที่แฟร์มีแล็บ
อาคารโรเบิร์ค แรทบัน วิลสัน
ไฟล์:Fermilab Main Control Room Panorama.jpg
ห้องควบคุมหลัก

ห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติแฟร์มี หรือ แฟร์มีแล็บ (อังกฤษ: Fermi National Accelerator Laboratory - Fermilab) ตั้งอยู่ที่เมืองแบแทเวีย ใกล้นครชิคาโก มลรัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา เป็นห้องทดลองในสังกัดกระทรวงพลังงานแห่งสหรัฐอเมริกา ทำการวิจัยเกี่ยวกับฟิสิกส์พลังงานสูง

ห้องปฏิบัติการแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1967 เดิมชื่อว่า "ห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติ" (National Accelerator Laboratory) และเปลี่ยนชื่อเป็น แฟร์มีแล็บ ในปี ค.ศ. 1974 เพื่อเป็นเกียรติแก่ เอนรีโก แฟร์มี นักฟิสิกส์ชาวอิตาลี ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี ค.ศ. 1938

ปัจจุบันแฟร์มีแล็บปฏิบัติงานโดยหน่วยงานที่ชื่อว่า Fermi Research Alliance (สหพันธ์เพื่อการวิจัยแฟร์มี) ซึ่งเป็นหน่วยงานความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยชิคาโก กับ Universities Research Association (URA) ซึ่งเป็นการรวมตัวของห้องวิจัยจาก 91 มหาวิทยาลัย ทั้งในสหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น อิตาลี

เครื่องมือชิ้นสำคัญที่สุดของแฟร์มีแล็บ คือ เครื่องเร่งอนุภาคเทวาตรอน (Tevatron) มีขนาดเส้นรอบวง 6.28 กิโลเมตร (3.90 ไมล์) สามารถเร่งพลังงานอนุภาคโปรตอนได้ถึง 1.96 TeV เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก รองจากเครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ของเซิร์น ที่กรุงเจนีวา (มีเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร)

ในปี ค.ศ. 1995 การทดลองด้วยเครื่องเร่งอนุภาคที่แฟร์มีแล็บ ได้พิสูจน์ยืนยันการมีอยู่จริงของ ควาร์ก [1] และในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการค้นพบอนุภาคใหม่ที่ประกอบด้วยควาร์ก 3 ตัว ให้ชื่อว่า "โอเมก้า ซับ บี" (Ωb) [2]

อ้างอิง

  1. B. Carithers, P. Grannis. "Discovery of the Top Quark" (PDF). Beam Line. SLAC. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
  2. "Fermilab physicists discover "doubly strange" particle". 2008-09-09.

แหล่งข้อมูลอื่น

41°49′55″N 88°15′26″W / 41.83194°N 88.25722°W / 41.83194; -88.25722