ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคกินวากาชู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคะคินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคะคินวะกะชู ฉบับออนไลน์ <ref name="online">Online edition of the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese/kokinshu/ Kokin wakashu] at the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese UVa Library Japanese Text Initiative].</ref> มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น ''[[มันโยชู]]''
ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคะคินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคะคินวะกะชู ฉบับออนไลน์ <ref name="online">Online edition of the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese/kokinshu/ Kokin wakashu] at the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese UVa Library Japanese Text Initiative].</ref> มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น ''[[มันโยชู]]''


The following divisions of the ''Kokinshū'' mention the Japanese names of the parts<ref name="online" />, their modern readings<ref name="companion">Miner (1985), pages 186&ndash;187</ref><ref name="trans">McCullough</ref>, and their English translations<ref name="contents">Brower, pg 482</ref>.
การแบ่งหมวดหมู่''โคะคินชู'' ตามชื่อภาษาญี่ปุ่น<ref name="online" />, their modern readings<ref name="companion">Miner (1985), pages 186&ndash;187</ref><ref name="trans">McCullough</ref>, และแปลภาษาอังกฤษ<ref name="contents">Brower, pg 482</ref>.


{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
บรรทัด 71: บรรทัด 71:


ประชุมบทกวียังบันทึกชื่อผู้แต่งของกวีในแต่ละบท และแรงบันดาล{{nihongo|topic|題|dai}} เท่าที่ทราบ กวรหลักในโคะคินชู ประกอบด้วบ อะริวะระ โนะ นะริฮิระ (Ariwara no Narihira),โอโนะ โนะ โคะมะจิ (Ono no Komachi),เฮนโจ (Henjō) และ ฟุจิวะระ โนะ โอคิคะเสะ (Fujiwara no Okikaze) นอกจากนั้น ยังรวบรวมบทกวีของผู้จัดทำทั้ง 4 คนด้วย และบทกวีของราชวงค์
ประชุมบทกวียังบันทึกชื่อผู้แต่งของกวีในแต่ละบท และแรงบันดาล{{nihongo|topic|題|dai}} เท่าที่ทราบ กวรหลักในโคะคินชู ประกอบด้วบ อะริวะระ โนะ นะริฮิระ (Ariwara no Narihira),โอโนะ โนะ โคะมะจิ (Ono no Komachi),เฮนโจ (Henjō) และ ฟุจิวะระ โนะ โอคิคะเสะ (Fujiwara no Okikaze) นอกจากนั้น ยังรวบรวมบทกวีของผู้จัดทำทั้ง 4 คนด้วย และบทกวีของราชวงค์


== อ้างอิง ==

{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:13, 2 มีนาคม 2552

โคะคินวะกะชู (古今和歌集 , The Kokin Wakashū ) เรียกกันสั้นๆว่า โคะคินชู (古今集 , Kokinshū )ชื่อ หมายถึง ประชุมบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน เป็นหนังสือนประชุมบทร้อยกรองแบบวะกะ ที่จัดทำโดยสำนักพระราชวังในต้นยุคเฮอัน โดยพระราชดำริของจักรพรรรดิอุดะ ( Emperor Uda ค.ศ. 887–897) และจัดทำโดยพระราชรับสั่งของจักรพรรดิไดโกะ (Emperor Daigo ค.ศ 897–930) ราชโอรส ราวปี ค.ศ. 905 และสำเร็จในปี ค.ศ. 920 มีหลักฐานว่า ร้อยกรองบทสุดท้ายได้ถูกรวบรวมเข้าไปในราวปี ค.ศ. 914 ผู้รวมรวมเป็นกวีในราชสำนัก 4 คน นำโดย คิ โนะ ซึระยุกิ(Ki no Tsurayuki) , โอชิโคจิ มิตสึเนะ( Ōshikōchi Mitsune) ,มิบุ โนะ ทะดะมิเนะ (Mibu no Tadamine) รวมถึง คิ โนะ โทะโมะโนะริ ( Ki no Tomonori) ซึ่งเสียชีวิตก่อนที่จะรวบรวมประชุมบทร้อยกรองนี้เสร็จ


ความสำคัญ

โคะคินชู เป็นประชุมร้อยกรองแบบญี่ปุ่น 21 ประเภท (二十一代集,Nijūichidaishūthe ) เล่มแรกที่รวบรวบขึ้นโดยพระราชประสงค์ของพระจักรพรรดิ และเป็นประชุมร้อยกรองที่แสดงถึงลักษณะของบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นในสมัยนั้นได้อย่างชัดเจน และกลายเป็นกฏของรบบการแต่งวะกะ หรือ บทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นสืบต่อมาจนถึงปลายศตวรรษที่ 19 เป็นประชุมร้อยกรองเล่มแรกที่แบ่งบทกวีออกเป็นประเภท กวรตามฤดูกาล และ บทกวีที่เกียวกับความรัก บทกวีเกี่ยวกับฤดูกาลในโคะคินชู สร้างแรงบันดาลใจจนพัฒนาเป็นรูปแบบของการแต่ง กวีแบบไฮกุ ในปัจจุบัน


คำนำ ของ โคะคินชู ที่เขียนโดย คิ โนะ ซึระยุกิ นั้นยังเขียนด้วยภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างจากหนังสือเล่มในยุกนั้นที่มักจะมีการเขียนคำนำเป็นภาษาจีน และใน โคะคินชู นี้ยังมีคำนำภาษาจที่เขียนโดย คิ โนะ โทะโมโนะริ (Ki no Tomonori) ด้วย ความคิดในการราวใรวมบทร้อยกรองตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบันนั้น ยังเป็นความคิดสร้างสรรคที่สำคัญ ร้อยรองในประชุมร้อยกรอง จึงมีความหลากหลายทั้งรูปแบบและการใช้ภาษา แสดงให้เห็นรูปแบบของการพัฒนาของการแต่งกวีแบบวะกะ


โครงสร้าง

ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคะคินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคะคินวะกะชู ฉบับออนไลน์ [1] มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น มันโยชู

การแบ่งหมวดหมู่โคะคินชู ตามชื่อภาษาญี่ปุ่น[1], their modern readings[2][3], และแปลภาษาอังกฤษ[4].

หัวข้อ การแบ่งภาค
ฤดูกาล 1-2 บทกวีฤดูวสันต์ 春歌 haru no uta
3 บทกวีฤดูคิมหันต์ 夏歌 natsu no uta
4-5 บทกวีฤดูสารท 秋歌 aki no uta
6 บทกวีฤดูเหมันต์ 冬歌 fuyu no uta
 
7 บทกวีเฉลิมฉลอง 賀歌 ga no uta
8 บทกวีพลัดพราก 離別歌 wakare no uta
9 นิราศ 羈旅歌 tabi no uta
10 ปริศนากวี 物名 mono no na
ความรัก 11-15 ความรัก 恋歌 บทกวีรัก
อื่นๆ 16 ความเศร้า 哀傷歌 aishō no uta
17-18 เบ็ดเตล็ด 雑歌 kusagusa no uta
19 รูปแบบเบ็ดเตล็ด 雑躰歌 zattai no uta
20 Traditional Poems
from the Bureau of Song
大歌所御歌 ōutadokoro no on'uta


ประชุมบทกวียังบันทึกชื่อผู้แต่งของกวีในแต่ละบท และแรงบันดาลญี่ปุ่น: topicโรมาจิทับศัพท์: dai เท่าที่ทราบ กวรหลักในโคะคินชู ประกอบด้วบ อะริวะระ โนะ นะริฮิระ (Ariwara no Narihira),โอโนะ โนะ โคะมะจิ (Ono no Komachi),เฮนโจ (Henjō) และ ฟุจิวะระ โนะ โอคิคะเสะ (Fujiwara no Okikaze) นอกจากนั้น ยังรวบรวมบทกวีของผู้จัดทำทั้ง 4 คนด้วย และบทกวีของราชวงค์


อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Online edition of the Kokin wakashu at the UVa Library Japanese Text Initiative.
  2. Miner (1985), pages 186–187
  3. McCullough
  4. Brower, pg 482