ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ps (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เมย์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


'''โจหลุยส์''' หรือ '''นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก''' เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ[[หุ่นกระบอก]] ของอาจารย์[[สาคร ยังเขียวสด]] หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] ทรงพระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ '''"มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"'''<ref>[http://www.thaipuppet.com/core/content/view/4/8/lang,th/ ประวัตินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก]</ref>
'''โจหลุยส์''' หรือ '''นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก''' เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือ[[หุ่นกระบอก]] ของอาจารย์[[สาคร ยังเขียวสด]] หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] ทรงพระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ '''"มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"'''<ref>[http://www.thaipuppet.com/core/content/view/4/8/lang,th/ ประวัตินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก]</ref>

ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่ให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพียนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกขณะนั้น ต่อมานำชื่อ "จหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"


ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณ[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549
ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณ[[สวนลุมไนท์บาซาร์]] ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:15, 22 กุมภาพันธ์ 2552

หุ่นละครเล็กคณะโจหลุยส์

โจหลุยส์ หรือ นาฏยศาลาหุ่นละครเล็ก เป็นคณะการแสดงละครเล็ก หรือหุ่นกระบอก ของอาจารย์สาคร ยังเขียวสด หรือ "โจหลุยส์" และครอบครัว ได้จัดให้มีการแสดงต่อสาธารณะ ครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการแสดงและการทำหุ่นของไทย สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระราชทานชื่อโรงละครโจหลุยส์ว่า “นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก” และได้ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ "มูลนิธินาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก"[1]

ครูสาคร เกิดเมื่อพ.ศ. 2465 ที่มาของชื่อ โจหลุยส์ นั้นเพราะสมัยเด็ก ครูสาครป่วยหนักบิดามารดาจึงยกให้เป็นลูกพระ ตั้งชื่ให้ว่า หลิว เป็นการแก้เคล็ด เมื่อโตขึ้นได้ฝึกหัดโขน ละคร และลิเก จนเติบโตได้ออกแสดงตระเวนไปกับบิดา ซึ่งครูสาครนิยมแสดงเป็นตัวตลก และมีการเรียกชื่อเพียนจาก "หลิว" เป็น "หลุยส์" ต่อมามีผู้มาเติมเป็น "โจหลุยส์" เหมือนชื่อนักมวยแชมป์โลกขณะนั้น ต่อมานำชื่อ "จหลุยส์ มาตั้งเป็นชื่อโรงละคร ที่เป็นคณะแสดงหุ่นละครกับสมาชิกครอบครัวว่า "โจหลุยส์เธียเตอร์"

ปัจจุบันโรงละครของคณะโจหลุยส์ (โจหลุยส์เธียเตอร์)นั้นมีที่ตั้งอยู่ในบริเวณสวนลุมไนท์บาซาร์ ประสบปัญหาด้านการเงินอยู่หลายครั้ง แต่ก็ได้รับการอนุเคราะห์จากชาวไทยที่มีจิตใจอนุรักษ์ บริจาคเงินช่วยเหลือ และเข้าชมการแสดง จนสามารถรอดพ้นวิกฤตมาได้ทุก ๆ ครั้ง ล่าสุดหุ่นละครเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศการแสดงชุดประกวดหุ่นโลก เมื่อวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2549

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น