ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Bangkok.Tailandia.jpg|thumb]]
[[ไฟล์:Bangkok.Tailandia.jpg|thumb]]
'''ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์''' ตั้งอยู่บริเวณมุม[[ถนนราชดำเนินกลาง]]ตัดกับ[[ถนนมหาไชย]] เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์[[กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์]] ซึ่งต่อมาคือ รัชกาลที่ ๓ พื้นที่โดยรอบเป็นลานกว้างซึ่งตกแต่งเป็นสวนสวยงามพร้อมกับการจัดสร้างพลับพลาที่ประทับ เพื่อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงออกรับแขกเมืองของประเทศ
'''ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์''' ตั้งอยู่บริเวณมุม[[ถนนราชดำเนินกลาง]]ตัดกับ[[ถนนมหาไชย]] เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์[[กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์]] ซึ่งต่อมาคือ รัชกาลที่ ๓ พื้นที่โดยรอบเป็นลานกว้างซึ่งตกแต่งเป็นสวนสวยงามพร้อมกับการจัดสร้างพลับพลาที่ประทับ เพื่อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงออกรับแขกเมืองของประเทศ


บรรทัด 6: บรรทัด 6:
<!-- ซึ่งเป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้น เพื่อพระราชทานพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดี และได้โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างโลหะปราสาทขึ้นอีก แทนการสร้างธรรมเจดีย์ นับเป็นโลหะปราสาทแห่งที่ ๓ ของโลก โดยสร้างเป็นอาคาร ๗ ชั้น มียอดปราสาท ๓๗ ยอด หมายถึงโพธิปักขิยธรรมในพระพุทธศาสนา ๓๗ ประการ ยอดปราสาทชั้น ๗ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
<!-- ซึ่งเป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้น เพื่อพระราชทานพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดี และได้โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างโลหะปราสาทขึ้นอีก แทนการสร้างธรรมเจดีย์ นับเป็นโลหะปราสาทแห่งที่ ๓ ของโลก โดยสร้างเป็นอาคาร ๗ ชั้น มียอดปราสาท ๓๗ ยอด หมายถึงโพธิปักขิยธรรมในพระพุทธศาสนา ๓๗ ประการ ยอดปราสาทชั้น ๗ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ


โลหะปราสาทหลังแรกสร้างขึ้นในประเทศ อินเดียตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยนางวิสาขา มหาอุบาสิกาแห่งเมืองสาวัตถี มีลักษณะเป็นปราสาท ๒ ชั้น ๑,๐๐๐ ห้อง ตรงยอดปราสาทเป็นทองคำ มีชื่อว่า “มิคารมาตุปราสาท” ส่วนโลหะปราสาทหลังที่สองสร้างขึ้นในประเทศลังกา โดยกษัตริย์แห่งกรุงอนุราธปุระ เมื่อประมาณปี พ.ศ.๓๘๒ มีลักษณะเป็นปราสาท ๙ ชั้น ๑,๐๐๐ ห้อง มีหลังคาทำด้วยแผ่นทองแดง และมีฝานังทำด้วยไม้ โลหะปราสาทหลังที่ ๓ ในวัดราชนัดดานี้ จัดสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ แต่มาแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งปัจจุบันนับว่าเป็นโลหะปราสาทแห่งเดียวที่ยังเหลืออยู่ในโลกนี้-->
โลหะปราสาทหลังแรกสร้างขึ้นในประเทศ อินเดียตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยนางวิสาขา มหาอุบาสิกาแห่งเมืองสาวัตถี มีลักษณะเป็นปราสาท ๒ ชั้น ๑,๐๐๐ ห้อง ตรงยอดปราสาทเป็นทองคำ มีชื่อว่า “มิคารมาตุปราสาท” ส่วนโลหะปราสาทหลังที่สองสร้างขึ้นในประเทศลังกา โดยกษัตริย์แห่งกรุงอนุราธปุระ เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๓๘๒ มีลักษณะเป็นปราสาท ๙ ชั้น ๑,๐๐๐ ห้อง มีหลังคาทำด้วยแผ่นทองแดง และมีฝานังทำด้วยไม้ โลหะปราสาทหลังที่ ๓ ในวัดราชนัดดานี้ จัดสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ แต่มาแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งปัจจุบันนับว่าเป็นโลหะปราสาทแห่งเดียวที่ยังเหลืออยู่ในโลกนี้-->


ทัศนียภาพบริเวณลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ มีสิ่งปลูกสร้างที่งดงามและสำคัญหลายแห่ง เช่น [[โลหะปราสาท]] [[วัดราชนัดดา]] [[ป้อมมหากาฬ]] และพระบรมบรรพต ([[ภูเขาทอง]]-[[วัดสระเกศ]])
ทัศนียภาพบริเวณลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ มีสิ่งปลูกสร้างที่งดงามและสำคัญหลายแห่ง เช่น [[โลหะปราสาท]] [[วัดราชนัดดา]] [[ป้อมมหากาฬ]] และพระบรมบรรพต ([[ภูเขาทอง]]-[[วัดสระเกศ]])

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:51, 21 กุมภาพันธ์ 2552

ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ตั้งอยู่บริเวณมุมถนนราชดำเนินกลางตัดกับถนนมหาไชย เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ซึ่งต่อมาคือ รัชกาลที่ ๓ พื้นที่โดยรอบเป็นลานกว้างซึ่งตกแต่งเป็นสวนสวยงามพร้อมกับการจัดสร้างพลับพลาที่ประทับ เพื่อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงออกรับแขกเมืองของประเทศ

ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2532 บนสถานที่เดิมของศาลาเฉลิมไทย


ทัศนียภาพบริเวณลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ มีสิ่งปลูกสร้างที่งดงามและสำคัญหลายแห่ง เช่น โลหะปราสาท วัดราชนัดดา ป้อมมหากาฬ และพระบรมบรรพต (ภูเขาทอง-วัดสระเกศ)