ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:กฎเข้าใจง่าย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลงชื่อ
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
* [[วิกิพีเดีย:สามสามัญ]] (นโยบายง่าย ๆ 3 ข้อ)
* [[วิกิพีเดีย:สามสามัญ]] (นโยบายง่าย ๆ 3 ข้อ)
* [[วิกิพีเดีย:ห้าเสาหลัก]] (นโยบายง่าย ๆ 5 ข้อ)
* [[วิกิพีเดีย:ห้าเสาหลัก]] (นโยบายง่าย ๆ 5 ข้อ)
* [[วิกิพีเดีย:แนวปฏิบัติสำหรับหน้าอภิปราย]]
* [[Wikipedia:Talk page guidelines]]
* [[:en:User:Jimbo Wales/Statement of principles]]
* [[:en:User:Jimbo Wales/Statement of principles]]
* [[วิกิพีเดีย:Glossary]]
* [[วิกิพีเดีย:อภิธานศัพท์]]
* [[Template:Associations/Wikipedia Bad Things]]
* [[Template:Associations/Wikipedia Bad Things]]


[[หมวดหมู่:นโยบายวิกิพีเดีย|กฎง่ายๆ]]
{{โครง}}
[[Category:นโยบายวิกิพีเดีย|กฎง่ายๆ]]
{{โครงวิกิพีเดีย}}


[[en:Wikipedia:Simplified Ruleset]]
[[en:Wikipedia:Simplified Ruleset]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:49, 30 พฤษภาคม 2549

วิกิพีเดียอาจจะอยู่ไปอีกหลายศตวรรษ อะไรก็ตามที่คุณทำไว้ที่นี่จะยังคงปรากฏให้เห็นในวิกิพีเดียตลอดไป เนื่องจากทุกการแก้ไขในทุกบทความถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลของเรา และนั่นก็รวมถึงทุกอย่างที่คุณทำผิดพลาดด้วย

แต่ไม่ต้องห่วง! แค่จำสิ่งเหล่านี้ไว้ในใจระหว่างแก้ไข และจริง ๆ แล้วมันก็มีแค่ไม่กี่อย่างที่ สามารถ ผิดได้. แม้ว่ามันจะมีกฎและขั้นตอนเล็ก ๆ น้อย ๆ ต่าง ๆ มากมาย แต่ถ้าเพียงคุณทำตามสิ่งเหล่านี้ คุณก็จะได้รับการเคารพและปฏิบัติอย่างดี

เมื่อคุณมีประสบการณ์มากขึ้น คุณอาจจะเรียนรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติเรื่องรูปแบบ วิธีลัด ฯลฯ แต่ไม่ต้องห่วงจนเกินไป ถ้าคุณไม่เข้าใจอะไรในตอนแรก เดี๋ยวก็จะมีใครสักคนมาเก็บกวาดให้คุณเอง

กฎ

  1. กล้าแก้! เอาเลย มันเป็นวิกิ!
    ส่งเสริมคนอื่น, รวมถึงคนที่ไม่เห็นด้วยกับคุณ ให้ทุกคน กล้าแก้!
  2. พึงประพฤติเยี่ยงอารยชน ต่อสมาชิกท่านอื่นเสมอ
  3. ปล่อยวางกฎทั้งหมด. ถ้ากฎปิดกั้นไม่ให้คุณปรับปรุงหรือดูแลวิกิพีเดียให้มีคุณภาพ จงลืมมันเสีย
  4. มุมมองที่เป็นกลาง (Neutral point of view, NPOV). เขียนจากมุมมองที่เป็นกลาง นี่เป็นสิ่งที่ไม่มีการเจรจาต่อรองกันได้และเป็นหลักการพื้นฐานของวิกิพีเดีย ทำให้เราสามารถบรรยายโลกของเราอย่างยุติธรรม
  5. การยืนยันได้. Articles should contain only material that has been published by reputable sources. Editors adding new information into an article should cite a reputable source for that information, otherwise it may be removed by any editor. The obligation to provide a reputable source is on editors wishing to include information, not on those seeking to remove it.
  6. (But) When in doubt, take it to the talk page. We have all the time in the world. Mutual respect is the guiding behavioural principle of Wikipedia and, although everyone knows that their writing may be edited mercilessly, it is easier to accept changes if the reasons for them are understood. If you discuss changes on the article's talk (or discussion) page before you make them, you should reach consensus faster and happier.
  7. เคารพลิขสิทธิ์. วิกิพีเดียใช้สัญญาอนุญาต GNU Free Documentation License. ทุกย่างที่คุณใส่เข้ามา จะต้องเข้ากันได้กับสัญญานั้น.
  8. คำอธิบายย่อการแก้ไขที่สามารถเข้าใจได้ และมีการอธิบายที่ชัดเจนนั้นเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ เนื่องจากจะช่วยให้สมาชิกท่านอื่นรับรู้ และเข้าใจถึงสิ่งที่ผู้แก้ไขต้องการกระทำแล้ว ยังเป็นรายการช่วยจำหากผู้แก้ไขห่างหายจากการแก้ไขบทความหนึ่ง ๆ ที่อาจทำค้างไว้เป็นเวลานาน สิ่งที่ควรระบุไว้คือ สิ่งที่แก้ไข และ เหตุผลของการแก้ไข หากคำอธิบายนั้นมีความยาวมาก สามารถนำไปบันทึกไว้ในหน้าอภิปรายได้ เนื่องจากหลักพื้นฐานสำคัญ (Foundation issues) ของวิกิพีเดียนั้น คือให้ทุกคนสามารถแก้ไขบทความได้ โดยไม่ต้องมีการลงทะเบียน ด้งนั้นจึงมีการแก้ไขบทความเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก และคำอธิบายอย่างย่อนี้จะช่วยให้สามารถเข้าใจถึงการแก้ไขที่เกิดขึ้นได้ง่าย
  9. ทุกคนมีเจตนาดี; หรือในนัยหนึ่งคือ พยายามคิดว่าคนที่เราสนทนาด้วยนั้น ก็เป็นคนมีความคิด มีเหตุผล ซึ่งพยายามที่จะทำสิ่งดี ๆ ให้กับวิกิพีเดีย — นอกเสียจากว่า, ย้ำว่า นอกเสียจากว่า, คุณมีข้อพิสูจน์ที่แน่ชัด แน่นหนา และไม่ลำเอียงเท่านั้น. เพียงแค่การไม่เห็นด้วยกับคุณนั้น ไม่นับเป็นข้อพิสูจน์ได้
  10. Particularly, ไม่ย้อนการแก้ไขที่มีเจตนาดี. Reverting is a little too powerful sometimes, hence the three-revert rule. Don't succumb to the temptation, unless you're reverting very obvious vandalism (like "LALALALAL*&*@#@THIS_SUX0RZ", or someone changing "6+5*2=16" to "6+5*2=17"). If you really can't stand something, revert once, with an edit summary something like "(rv) I disagree strongly, I'll explain why in talk." and immediately take it to talk.
  11. อย่าว่าร้ายผู้อื่น. Don't write that user such and so is an idiot, or insult him/her (even if (s)he is an idiot). Instead, explain what they did wrong, why it is wrong, and how to fix it. If possible, fix it yourself (but see above).
  12. Be graceful: Be liberal in what you accept, be conservative in what you do. Try to accommodate other people's quirks the best you can, but try to be as polite, solid and straightforward as possible yourself.
  13. งดงานค้นคว้าต้นฉบับ, ขอความกรุณา. (เมื่อใดที่อ้างถึงแหล่งอ้างอิงเดียวบ่อยครั้ง เขียนมันลงด้วยคำพูดของคุณเอง) ดู อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย.
  14. ลงชื่อ. ลงชื่อในหน้าอภิปราย (พิมพ์ ~~~~ ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วย ชื่อผู้ใช้ของคุณ และวันเวลาที่คุณส่ง), แต่ไม่ต้องลงชื่อในหน้าบทความ
  15. ใช้ปุ่ม ดูตัวอย่าง เพื่อลดการแก้ซ้อนกัน
  16. Foundation issues: There are only 5 actual rules on Wikipedia: NPOV, a free license, the wiki process, the ability of anyone to edit, and the ultimate authority of Jimbo and the board on process matters. If you disagree strongly with them, you may want to consider whether Wikipedia is the right place for you at all. While anything can theoretically be changed on a wiki, the community up to this point has been built on these principles and is highly unlikely to move away from them in the future. A lot of thought has been put into them and they've worked for us so far; do give them a fair shake before attempting to radically change them or leaving the project.


ดูเพิ่ม

กฎเข้าใจง่าย เป็นหน้านโยบาย วิธีใช้ หรือหน้าโครงการของวิกิพีเดียที่ยังเป็นโครง
หน้าวิธีใช้ และหน้าโครงการของวิกิพีเดียภาษาไทย อาจต่างกับวิกิพีเดียภาษาอื่น ทั้งนี้อยู่บนพื้นฐานนโยบายเดียวกัน