ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
อุทยานแห่งชาติ (The National Park) ในประเทศไทยเกิดขึ้นจาก พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ ซึ่งได้ให้ความหมายของอุทยานแห่งชาติไว้ว่า ได้แก่ "บริเวณที่ดินแห่งใดที่มีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไว้ให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน โดยรัฐจะประกาศพระราชกฤษฎีกา และให้มีแผนที่แสดงแนวเขตแห่งบริเวณที่กำหนดนั้นแนบท้ายพระราชกฤษฎีกาด้วย บริเวณที่กำหนดนี้เรียกว่า '''อุทยานแห่งชาติ''' ที่ดินที่จะกำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาตินั้น ต้องเป็นที่ดินที่มิได้อยู่ในกรรมสิทธิ์หรือครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายของบุคคลใดซึ่งมิใช่ทบวงการเมือง ให้มีกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า '''คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ''' ประกอบด้วยปลัดกระทรวงเกษตรเป็นประธาน อธิบดีกรมป่าไม้ ผู้แทนกรมมหาดไทย ผู้แทนกรมที่ดิน และกรรมการอื่นไม่เกินสิบเอ็ดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง" แนวคิดเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติริเริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอุทยานแห่งชาติที่มีชื่อเสียง เช่น [[อุทยานแห่งชาติแกรนด์แคนยอน]] [[อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน]] [[อุทยานแห่งชาติโยเซมิตี]]
'''อุทยานแห่งชาติ'''ในประเทศไทยเกิดขึ้นจาก พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งได้ให้ความหมายของอุทยานแห่งชาติไว้ว่า ได้แก่ "บริเวณที่ดินแห่งใดที่มีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไว้ให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน โดยรัฐจะประกาศพระราชกฤษฎีกา และให้มีแผนที่แสดงแนวเขตแห่งบริเวณที่กำหนดนั้นแนบท้ายพระราชกฤษฎีกาด้วย บริเวณที่กำหนดนี้เรียกว่า '''อุทยานแห่งชาติ''' ที่ดินที่จะกำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาตินั้น ต้องเป็นที่ดินที่มิได้อยู่ในกรรมสิทธิ์หรือครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายของบุคคลใดซึ่งมิใช่ทบวงการเมือง ให้มีกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า '''คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ''' ประกอบด้วยปลัดกระทรวงเกษตรเป็นประธาน อธิบดีกรมป่าไม้ ผู้แทนกรมมหาดไทย ผู้แทนกรมที่ดิน และกรรมการอื่นไม่เกินสิบเอ็ดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง" แนวคิดเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติริเริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอุทยานแห่งชาติที่มีชื่อเสียง เช่น [[อุทยานแห่งชาติแกรนด์แคนยอน]] [[อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน]] [[อุทยานแห่งชาติโยเซมิตี]]


หลักการสงวนรักษาที่ดินที่มีสภาพธรรมชาตินั้นทำได้หลายแบบ หลายระดับ ได้แก่ [[ป่าสงวนแห่งชาติ]], [[อุทยานแห่งชาติ]], [[วนอุทยาน]], [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า]], [[เขตห้ามล่าสัตว์ป่า]], [[ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ]], และ [[สวนรุกขชาติ]] ในส่วนอุทยานแห่งชาติของไทยนั้น แบ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางบก และทางทะเล
หลักการสงวนรักษาที่ดินที่มีสภาพธรรมชาตินั้นทำได้หลายแบบ หลายระดับ ได้แก่ [[ป่าสงวนแห่งชาติ]], [[อุทยานแห่งชาติ]], [[วนอุทยาน]], [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า]], [[เขตห้ามล่าสัตว์ป่า]], [[ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ]], และ [[สวนรุกขชาติ]] ในส่วนอุทยานแห่งชาติของไทยนั้น แบ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางบก และทางทะเล

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:46, 30 พฤษภาคม 2549

อุทยานแห่งชาติในประเทศไทยเกิดขึ้นจาก พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งได้ให้ความหมายของอุทยานแห่งชาติไว้ว่า ได้แก่ "บริเวณที่ดินแห่งใดที่มีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไว้ให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน โดยรัฐจะประกาศพระราชกฤษฎีกา และให้มีแผนที่แสดงแนวเขตแห่งบริเวณที่กำหนดนั้นแนบท้ายพระราชกฤษฎีกาด้วย บริเวณที่กำหนดนี้เรียกว่า อุทยานแห่งชาติ ที่ดินที่จะกำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาตินั้น ต้องเป็นที่ดินที่มิได้อยู่ในกรรมสิทธิ์หรือครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายของบุคคลใดซึ่งมิใช่ทบวงการเมือง ให้มีกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงเกษตรเป็นประธาน อธิบดีกรมป่าไม้ ผู้แทนกรมมหาดไทย ผู้แทนกรมที่ดิน และกรรมการอื่นไม่เกินสิบเอ็ดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง" แนวคิดเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติริเริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีอุทยานแห่งชาติที่มีชื่อเสียง เช่น อุทยานแห่งชาติแกรนด์แคนยอน อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน อุทยานแห่งชาติโยเซมิตี

หลักการสงวนรักษาที่ดินที่มีสภาพธรรมชาตินั้นทำได้หลายแบบ หลายระดับ ได้แก่ ป่าสงวนแห่งชาติ, อุทยานแห่งชาติ, วนอุทยาน, เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า, เขตห้ามล่าสัตว์ป่า, ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ, และ สวนรุกขชาติ ในส่วนอุทยานแห่งชาติของไทยนั้น แบ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางบก และทางทะเล

อุทยานแห่งชาติที่สำคัญของไทย เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่, อุทยานแห่งชาติภูกระดึง, อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง, อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่, เป็นต้น การกระทำสิ่งใดในบริเวณอุทยานแห่งชาติจะต้องปฏิบัติตาม พรบ.อุทยานแห่งชาติ และผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ