ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐสภายาว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:LongParliament.jpg|thumb|220px|right|การประชุมของรัฐสภายาว]]
[[ไฟล์:LongParliament.jpg|thumb|220px|right|การประชุมของรัฐสภายาว]]
'''รัฐสภายาว''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Long Parliament) เป็นชื่อของ[[รัฐสภาแห่งอังกฤษ]]สมัยหนึ่งที่ถูกเรียกโดย[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]]เมื่อวันที่ [[3 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1640]]<ref>วันที่ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]]ที่เริ่มปีใหม่ในวันที่ 1 มกราคม</ref> หลังจากที่[[สงครามบาทหลวง]] (Bishops' Wars) สิ้นสุดลง นามของสภาที่ได้รับเป็นเพราะเป็นสมัยประชุมที่ได้รับอนุมัติจากพระราชบัญญัติพิเศษเพื่อเป็นการป้องกันจากการยุบโดยมิได้รับมติเห็นชอบจากสมาชิกของรัฐสภาเอง<ref>[http://home.freeuk.net/don-aitken/ast/c1.html#198 Full text of the Act against Dissolving the Long Parliament without its own Consent] 11 May 1641</ref> สมาชิกของรัฐสภาก็มิได้ยุบสภานี้จนกระทั่งหลังจาก[[สงครามกลางเมืองอังกฤษ]] และหลังจาก[[สมัยไร้กษัตริย์อังกฤษ|สมัยไร้กษัตริย์]] ในปี [[ค.ศ. 1660]]<ref name=dissolution>[http://www.british-history.ac.uk/report.asp?compid=24957#s15 House of Commons Journal Volume 7: Dissolving Parliament]
'''รัฐสภายาว''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Long Parliament) เป็นชื่อของ[[รัฐสภาแห่งอังกฤษ]]สมัยหนึ่งที่ถูกเรียกโดย[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ]]เมื่อวันที่ [[3 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1640]]<ref>วันที่ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]]ที่เริ่มปีใหม่ในวันที่ 1 มกราคม</ref> หลังจากที่[[สงครามบาทหลวง]] (Bishops' Wars) สิ้นสุดลง นามของสภาที่ได้รับเป็นเพราะเป็นสมัยประชุมที่ได้รับอนุมัติจากพระราชบัญญัติพิเศษเพื่อเป็นการป้องกันจากการยุบโดยมิได้รับมติเห็นชอบจากสมาชิกของรัฐสภาเอง<ref>[http://home.freeuk.net/don-aitken/ast/c1.html#198 Full text of the Act against Dissolving the Long Parliament without its own Consent] 11 May 1641</ref> สมาชิกของรัฐสภาก็มิได้ยุบสภานี้จนกระทั่งหลังจาก[[สงครามกลางเมืองอังกฤษ]] และหลังจาก[[สมัยไร้กษัตริย์อังกฤษ|สมัยไร้กษัตริย์]] ในปี [[ค.ศ. 1660]]<ref name=dissolution>[http://www.british-history.ac.uk/report.asp?compid=24957#s15 House of Commons Journal Volume 7: Dissolving Parliament]
16 March 1660</ref> รัฐสภาเริ่มเปิดประชุมครั้งแรกในปี [[ค.ศ. 1640]] แต่มาหยุดชะงักลงชั่วคราวในปี [[ค.ศ. 1649]] เมื่อผู้สนับสนุน “[[กองทัพตัวอย่างใหม่]]” (New Model Army) ลาออก รัฐสภาหลังจากการหยุดชะงักก็กลายเป็น “[[รัฐสภารัมพ์]]” (Rump Parliament) ระหว่างสมัยการปกครองของ[[รัฐบาลผู้พิทักษ์อังกฤษ]] (The Protectorate) รัฐสภารัมพ์ก็ถูกแทนด้วยการประชุมรัฐสภาอื่นๆ แต่ก็ถูกเรียกกลับมาหลังจากที่[[โอลิเวอร์ ครอมเวลล์]]เสียชีวิตในปี [[ค.ศ. 1658]] โดยฝ่ายทหารเพื่อช่วยพยุงฐานะของการทหาร เมื่อไม่สำเร็จ นายพล[[จอร์จ มองค์]] (George Monck) ก็อนุญาตให้ผู้ที่ถูกกีดกันจากรัฐสภาในปี [[ค.ศ. 1649]] กลับมาเข้าร่วมประชุมได้อีก เพื่อที่จะทำให้สามารถผ่านกฎหมายที่จำเป็นใน[[การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ|การฟื้นฟูราชวงศ์]]และยุบรัฐสภายาวเอง ซึ่งเป็นการปูทางสำหรับรัฐสภาที่จะได้รับเลือกตั้งใหม่ที่เรียกว่า “[[รัฐสภาคอนเว็นท์ชั่น]]” (Convention Parliament)
16 March 1660</ref> รัฐสภาเริ่มเปิดประชุมครั้งแรกในปี [[ค.ศ. 1640]] แต่มาหยุดชะงักลงชั่วคราวในปี [[ค.ศ. 1649]] เมื่อผู้สนับสนุน “[[กองทัพตัวอย่างใหม่]]” (New Model Army) ลาออก รัฐสภาหลังจากการหยุดชะงักก็กลายเป็น “[[รัฐสภารัมพ์]]” (Rump Parliament) ระหว่างสมัยการปกครองของ[[รัฐบาลผู้พิทักษ์อังกฤษ]] (The Protectorate) รัฐสภารัมพ์ก็ถูกแทนด้วยการประชุมรัฐสภาอื่นๆ แต่ก็ถูกเรียกกลับมาหลังจากที่[[โอลิเวอร์ ครอมเวลล์]]เสียชีวิตในปี [[ค.ศ. 1658]] โดยฝ่ายทหารเพื่อช่วยพยุงฐานะของการทหาร เมื่อไม่สำเร็จ นายพล[[จอร์จ มองค์ ดยุคแห่งอาลเบอมาร์ลที่ 1|จอร์จ มองค์]] (George Monck, 1st Duke of Albemarle) ก็อนุญาตให้ผู้ที่ถูกกีดกันจากรัฐสภาในปี [[ค.ศ. 1649]] กลับมาเข้าร่วมประชุมได้อีก เพื่อที่จะทำให้สามารถผ่านกฎหมายที่จำเป็นใน[[การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ|การฟื้นฟูราชวงศ์]]และยุบรัฐสภายาวเอง ซึ่งเป็นการปูทางสำหรับรัฐสภาที่จะได้รับเลือกตั้งใหม่ที่เรียกว่า “[[รัฐสภาคอนเว็นท์ชั่น]]” (Convention Parliament)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:38, 26 มกราคม 2552

การประชุมของรัฐสภายาว

รัฐสภายาว (ภาษาอังกฤษ: Long Parliament) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษสมัยหนึ่งที่ถูกเรียกโดยสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1640[1] หลังจากที่สงครามบาทหลวง (Bishops' Wars) สิ้นสุดลง นามของสภาที่ได้รับเป็นเพราะเป็นสมัยประชุมที่ได้รับอนุมัติจากพระราชบัญญัติพิเศษเพื่อเป็นการป้องกันจากการยุบโดยมิได้รับมติเห็นชอบจากสมาชิกของรัฐสภาเอง[2] สมาชิกของรัฐสภาก็มิได้ยุบสภานี้จนกระทั่งหลังจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ และหลังจากสมัยไร้กษัตริย์ ในปี ค.ศ. 1660[3] รัฐสภาเริ่มเปิดประชุมครั้งแรกในปี ค.ศ. 1640 แต่มาหยุดชะงักลงชั่วคราวในปี ค.ศ. 1649 เมื่อผู้สนับสนุน “กองทัพตัวอย่างใหม่” (New Model Army) ลาออก รัฐสภาหลังจากการหยุดชะงักก็กลายเป็น “รัฐสภารัมพ์” (Rump Parliament) ระหว่างสมัยการปกครองของรัฐบาลผู้พิทักษ์อังกฤษ (The Protectorate) รัฐสภารัมพ์ก็ถูกแทนด้วยการประชุมรัฐสภาอื่นๆ แต่ก็ถูกเรียกกลับมาหลังจากที่โอลิเวอร์ ครอมเวลล์เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1658 โดยฝ่ายทหารเพื่อช่วยพยุงฐานะของการทหาร เมื่อไม่สำเร็จ นายพลจอร์จ มองค์ (George Monck, 1st Duke of Albemarle) ก็อนุญาตให้ผู้ที่ถูกกีดกันจากรัฐสภาในปี ค.ศ. 1649 กลับมาเข้าร่วมประชุมได้อีก เพื่อที่จะทำให้สามารถผ่านกฎหมายที่จำเป็นในการฟื้นฟูราชวงศ์และยุบรัฐสภายาวเอง ซึ่งเป็นการปูทางสำหรับรัฐสภาที่จะได้รับเลือกตั้งใหม่ที่เรียกว่า “รัฐสภาคอนเว็นท์ชั่น” (Convention Parliament)

อ้างอิง

  1. วันที่ตามปฏิทินจูเลียนที่เริ่มปีใหม่ในวันที่ 1 มกราคม
  2. Full text of the Act against Dissolving the Long Parliament without its own Consent 11 May 1641
  3. House of Commons Journal Volume 7: Dissolving Parliament 16 March 1660

ดูเพิ่ม