ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุทธิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
Devide to simplify content
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด '''วิสุทธิ ๗''' ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการชำระชาวโลกให้บริสุทธิ์ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่า[[ไตรสิกขา]]ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือ[[นิพพาน]]
'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด '''วิสุทธิ ๗''' ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการทำให้บริสุทธิ์ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่า[[ไตรสิกขา]]ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือ[[นิพพาน]]


วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ *'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้องตั้งใจรักษาเพื่อจะได้ทำ[[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ด้วย
วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ *'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้องตั้งใจรักษาเพื่อจะได้ทำ[[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ด้วย
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]] คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิให้ได้อุปจาระและอัปปนา ได้ฌาน ๕ ฌาน ๘ ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิด[[วิปัสสนา]]ขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]] คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิให้ได้อุปจาระและอัปปนา ได้ฌาน ๕ ฌาน ๘ ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิด[[วิปัสสนา]]ขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]] คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็น[[นามรูป]]ตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]] คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็น[[นามรูป]]ตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด

วิธีการปฏิบัติให้มีทิฏฐิวิสุทธิเกิดขึ้น คือ การหมั่นเอาหลักการแยกแยะที่ทรงแสดงไว้ในพระสูตรและพระอภิธรรมซึ่งจะต้องเรียนมาเป็นอย่างดีแล้ว มาคิดแยกแยะสรรพสิ่งให้ได้ต่อเนื่องตลอดทั้งวันทั้งคืน เช่น คิดถึงเพลงที่ชอบก็ต้องคิดเลยไปถึงคำว่า "รูปธรรม ซึ่งเป็นอัพยากตธรรมซึ่งควรกำหนดรู้", คิดถึงจิตที่ไปรับเสียงเพลงก็ต้องคิดเลยไปถึงคำว่า "นามธรรม ประเภทอกุศลธรรมซึ่งควรละ" แล้วก็สรุปว่า "ไม่มีสัตว์บุคลอะไร มีแค่ธรรมะคือรูปนามเท่านั้น" เป็นต้น ทำอย่างนี้ในทุก ๆ สิ่งทุก ๆ อย่างจนกว่าจะคล่องชำนาญ ซึ่งในวิสุทธิมรรคมหาฏีกาท่านว่า "ควรทำให้เป็นดุจวสีของคนได้ฌาน"เลยทีเดียว การปฏิบัติจึงต้องทำทั้งวันตั้งแต่ตื่นจนหลับ เหมือนกับคนทำฌานที่ต้องคอยนึกถึงนิมิตที่ใช้ทำฌานนั่นแหละ แต่จะเห็นผลได้ชัดเจนดีหากมีเวลาทำสมาธิแล้วค่อยออกจากสมาธินั่งพิจารณาต่อไป เพราะจะแยกแยะได้ชัดเจน นึกหน่วงได้คล่องดี.
*'''กังขาวิตรณวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ญาณ]]เป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย
*'''กังขาวิตรณวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ญาณ]]เป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย

วิธีการปฏิบัติให้มกังขาวิตรณวิสุทธิิเกิดขึ้น คือ การหมั่นเอาหลักการเชื่อมเหตุเชื่อมผลให้ตรงกันตามที่ทรงแสดงไว้ในพระสูตรและพระอภิธรรมซึ่งจะต้องเรียนมาเป็นอย่างดีแล้ว มาคิดเชื่อมเหตุเชื่อมผลของสรรพสิ่งที่ถูกแยกแยะมาด้วยทิฏฐิวิสุทธิแล้วให้ได้ต่อเนื่องตลอดทั้งวันทั้งคืน เช่น คิดถึงเพลงที่ชอบ ก็คิดถึงจิตใจหื่นกระหายจะฟังได้ และคิดเลยไปจนถึงว่า "จิตโลภๆอย่างนี้พาไปเกิดในอบายได้ เพราะจะลักซีดีอันเป็นการผิดศีลก็ได้" เป็นต้น ทำอย่างนี้ในทุก ๆ สิ่งทุก ๆ อย่าง จนกว่าจะคล่องชำนาญ ซึ่งในวิสุทธิมรรคมหาฏีกาท่านก็บอกไว้เช่นเดียวกับในทิฏฐิวิสุทธิอีกว่า "ควรทำให้เป็นดุจวสีของคนได้ฌาน"เลยทีเดียว การปฏิบัติจึงต้องทำทั้งวันตั้งแต่ตื่นจนหลับ เหมือนกับคนทำฌานที่ต้องคอยนึกถึงนิมิตที่ใช้ทำฌานนั่นแหละ แต่จะเห็นผลได้ชัดเจนดีหากมีเวลาทำสมาธิแล้วค่อยออกจากสมาธินั่งพิจารณาต่อไป เพราะจะแยกแยะได้ชัดเจน นึกหน่วงได้คล่องดี.

*'''มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
*'''มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
*'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน ([[ญาณ|วิปัสสนาญาณ 9]])
*'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน ([[ญาณ|วิปัสสนาญาณ 9]])

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:42, 1 มกราคม 2552

วิสุทธิ หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด วิสุทธิ ๗ ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการทำให้บริสุทธิ์ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่าไตรสิกขาไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือนิพพาน

วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ *ศีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้องตั้งใจรักษาเพื่อจะได้ทำสมาธิกับวิปัสสนาด้วย

ปาริสุทธิศีล 4 ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้แก่

  1. ปาฏิโมกขสังวรศีล ศีลคือความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดในสิกขาบท คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ในพระไตรปิฎกนั่นเอง ในส่วนของพระภิกษุ ได้แก่ พระปาติโมกข์และข้อวัตรที่แสนจะเรียบร้อยในพระวินัยปิฎก, ของฆราวาสก็ ศีล ๕ ศีล ๘ เป็นต้นและมารยาทต่างๆ เช่น พูดไพเราะอ่อนหวาน เป็นต้นนั่นเอง.
  2. อินทรียสังวรศีล ศีลคือความสำรวมอินทรีย์ ๖ ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมเกิดขึ้นได้ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น ระวังไม่ให้โกรธ เมื่อโกรธก็กำหนดว่า "โกรธหนอๆ" เป็นต้น นี้ก็จัดเป็นขั้นศีล.
  3. อาชีวปาริสุทธิศีล ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ของพระได้แก่สิกขาบท ๖ ข้อที่ท่านระบุไว้ในคัมภีร์ปริวาร, ของฆราวาสก็ได้แก่อาชีพที่ไม่ผิดศีลผิดกรรมบถ ๑๐ เช่น ไม่ทำอาชีพเพชฌฆาตฆ่าคน เป็นต้น.
  4. ปัจจัยสันนิสิตศีล ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอยปัจจัยสี่ ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วยตัณหา คือ ไม่ใช่ว่าอยากกินก็เลยกิน อยากใช้ก็เลยใช้นั่นเอง
  • จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิให้ได้อุปจาระและอัปปนา ได้ฌาน ๕ ฌาน ๘ ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิดวิปัสสนาขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
  • ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็นนามรูปตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
  • กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย
  • มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
  • ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน (วิปัสสนาญาณ 9)
  • ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คือ ความรู้ในอริยมรรค หรือมรรคญาณ ความเป็นอริยบุคคล ย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้ เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิ หรือไตรสิกขา หรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น

วิสุทธิ 7 กับ วิปัสสนาญาณ

วิสุทธิ 7 เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพาน ดังบรรยายในรถวินีตสูตร(พระสูตรหนึ่งในพระไตรปิฎก)เปรียบวิสุทธิ ๗ กับรถเจ็ดผลัด ส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมาย สามารถเปรียบเทียบ ไตรสิกขา,วิสุทธิ 7,ญาณ 16 ,ปาริสุทธิศีล 4 และสมาธิ ได้ดังนี้

  • อธิศีลสิกขา

ศีลวิสุทธิ

๑.ปาฏิโมกขสังวรศีล
๒.อินทรียสังวรศีล
๓.อาชีวปาริสุทธิศีล
๔.ปัจจัยสันนิสิตศีล
  • อธิจิตตสิกขา

จิตตวิสุทธิ

-อุปจารสมาธิ
-อัปปนาสมาธิ ในฌานสมาบัติ
  • อธิปัญญาสิกขา

ทิฏฐิวิสุทธิ

๑.นามรูปปริจเฉทญาณ

กังขาวิตรณวิสุทธิ

๒.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ

มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ

๓.สัมมสนญาณ
๔.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่ยังเป็นวิปัสสนาญาณอย่างอ่อน (ตรุณอุทยัพพยญาณ)

ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ

๔.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่เจริญขึ้น (พลวอุทยัพพยญาณ)
๕.ภังคานุปัสสนาญาณ
๖.ภยตูปัฏฐานญาณ
๗.ทีนวานุปัสสนาญาณ
๘.นิพพิทานุปัสสนาญาณ
๙.มุจจิตุกัมยตาญาณ
๑๐.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
๑๑.สังขารุเบกขาญาณ
๑๒.สัจจานุโลมิกญาณ
๑๓.โคตรภูญาณ

ญาณทัสสนวิสุทธิ

๑๔.มัคคญาณ
๑๕.ผลญาณ
๑๖.ปัจจเวกขณญาณ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม