ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมโยธา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}

[[ภาพ:FalkirkWheelSide 2004 SeanMcClean.jpg|thumb|250px|[[Falkirk Wheel]] สิ่งก่อสร้างใน[[สก็อตแลนด์]]สำหรับยกเรือข้ามแม่น้ำ]]
[[ไฟล์:FalkirkWheelSide 2004 SeanMcClean.jpg|thumb|250px|[[Falkirk Wheel]] สิ่งก่อสร้างใน[[สก็อตแลนด์]]สำหรับยกเรือข้ามแม่น้ำ]]

'''วิศวกรรมโยธา''' (civil engineering) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้าน[[วิศวกรรมศาสตร์]] ครอบคลุมการก่อสร้างตึก [[ตึกระฟ้า]] อาคาร [[สะพาน]] [[ถนน]] และ[[การขนส่ง|ระบบขนส่งอื่น ๆ]] รวมถึงระบบ[[สาธารณูปโภค]]ต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำ[[รังวัด]]ในงานสำรวจและแผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทาง[[ธรณีวิทยา|ธรณี]]และ[[ชลศาสตร์]] และการบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรโยธา หรือเรียกกันว่า [[นายช่าง]] ในการทำงานในประเทศไทย ผู้ที่ประกอบวิชาชีพจะขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ [[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม]] (กว.) โดยจะมีการสอบจัดขึ้นปีละครั้ง
'''วิศวกรรมโยธา''' (civil engineering) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้าน[[วิศวกรรมศาสตร์]] ครอบคลุมการก่อสร้างตึก [[ตึกระฟ้า]] อาคาร [[สะพาน]] [[ถนน]] และ[[การขนส่ง|ระบบขนส่งอื่น ๆ]] รวมถึงระบบ[[สาธารณูปโภค]]ต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำ[[รังวัด]]ในงานสำรวจและแผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทาง[[ธรณีวิทยา|ธรณี]]และ[[ชลศาสตร์]] และการบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรโยธา หรือเรียกกันว่า [[นายช่าง]] ในการทำงานในประเทศไทย ผู้ที่ประกอบวิชาชีพจะขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ [[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม]] (กว.) โดยจะมีการสอบจัดขึ้นปีละครั้ง


==สาขาย่อย==
==สาขาย่อย==
[[ไฟล์:GisLayers.png|thumb|right|ตัวอย่างแผนที่ใช้ในการแบ่งโซนอาศัย สร้างโดยใช้ระบบ [[จีไอเอส]] (GIS) โดยโปรแกรม ชื่อ [[อาร์คจีไอเอส]] (ArcGIS)]]
[[ภาพ:Construction Site.jpg|thumb|250px|right|'''ไซต์ก่อสร้าง'''ทั่วไป อาคารจะถูกออกแบบโดย[[สถาปนิก]] คำนวณโครงสร้างโดยวิศวกรโครงสร้าง ก่อสร้างและควบคุมโดยวิศวกรหรือ[[ผู้รับเหมา]]]]

[[ภาพ:GIS Usage.jpg|thumb|right|ตัวอย่างแผนที่ใช้ในการแบ่งโซนอาศัย สร้างโดยใช้ระบบ [[จีไอเอส]] (GIS) โดยโปรแกรม ชื่อ [[อาร์คจีไอเอส]] (ArcGIS)]]
; [[วิศวกรรมโครงสร้าง]] (Structural Engineering) : ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณ สิ่งก่อสร้าง การศึกษาในสาขานี้จะเน้นในทางด้านงานคำนวณน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง และแรงต้านทานของวัสดุ งานที่เกี่ยวข้องได้แก่ การก่อสร้างอาคาร เขื่อนหรือสะพาน
; [[วิศวกรรมโครงสร้าง]] (Structural Engineering) : ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณ สิ่งก่อสร้าง การศึกษาในสาขานี้จะเน้นในทางด้านงานคำนวณน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง และแรงต้านทานของวัสดุ งานที่เกี่ยวข้องได้แก่ การก่อสร้างอาคาร เขื่อนหรือสะพาน


บรรทัด 28: บรรทัด 30:
** [http://www.eit.or.th/engineering/geotech/ คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี]
** [http://www.eit.or.th/engineering/geotech/ คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี]
** [http://www.eit.or.th/ymeit/ ยุววิศวกร]
** [http://www.eit.or.th/ymeit/ ยุววิศวกร]
* [http://www.tumcivil.com/engfanatic/HOME/ ตั้มซีวิล] แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา และซอฟต์แวร์]]
* [http://www.tumcivil.com/engfanatic/HOME/ ตั้มซีวิล] แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา และซอฟต์แวร์
* [http://www.thaitca.or.th/ สมาคมคอนกรีตไทย (ส.ค.ท.)]
* [http://www.thaitca.or.th/ สมาคมคอนกรีตไทย (ส.ค.ท.)]
* [http://www.isit.or.th/ สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย]
* [http://www.isit.or.th/ สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:50, 16 ธันวาคม 2551

Falkirk Wheel สิ่งก่อสร้างในสก็อตแลนด์สำหรับยกเรือข้ามแม่น้ำ

วิศวกรรมโยธา (civil engineering) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำรังวัดในงานสำรวจและแผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทางธรณีและชลศาสตร์ และการบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรโยธา หรือเรียกกันว่า นายช่าง ในการทำงานในประเทศไทย ผู้ที่ประกอบวิชาชีพจะขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.) โดยจะมีการสอบจัดขึ้นปีละครั้ง

สาขาย่อย

ตัวอย่างแผนที่ใช้ในการแบ่งโซนอาศัย สร้างโดยใช้ระบบ จีไอเอส (GIS) โดยโปรแกรม ชื่อ อาร์คจีไอเอส (ArcGIS)
วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Engineering)
ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณ สิ่งก่อสร้าง การศึกษาในสาขานี้จะเน้นในทางด้านงานคำนวณน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง และแรงต้านทานของวัสดุ งานที่เกี่ยวข้องได้แก่ การก่อสร้างอาคาร เขื่อนหรือสะพาน
วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ (Construction Engineering and Management)
ศึกษาเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารเป็นหลัก โดยเน้นศึกษาทางด้านระบบการสร้างอาคาร การวางแผนงาน การประเมินราคาค่าก่อสร้าง นอกจากนี้ ในบางสถาบันจะมีการสอนเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร
วิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering)
ศึกษาแยกเป็น 2 สาขาหลักคือระบบและวัสดุ โดยงานทางด้านระบบจะเน้นทางด้านการวางผัง การจราจร และการจัดการทางด้านงานจราจร โดยทำการศึกษาถึงประโยชน์และค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบถนน สำหรับงานทางด้านวัสดุจะเน้นในการศึกษาวัสดุในการทำถนน ได้แก่ คอนกรีตและยางมะตอย เป็นหลัก โดยศึกษาถึงกรรมวิธีในการสร้างถนนและปรับปรุงถนน
วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geotechnical engineering)
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิสิกส์และวิศวกรรมของดิน เพื่อการวิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมธรณี (Geological engineering)
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิสิกส์ วิศวกรรมของหิน และธรณีวิทยาประยุกต์ เพื่อการวิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมโยธาและเหมืองแร่
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการระบบสิ่งแวดล้อมในน้ำและในอากาศ การปรับปรุงคุณภาพของของเสีย
วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resource engineering)
ศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านแหล่งน้ำ ปริมาณน้ำฝน และระบบการระบายน้ำ รวมทั้งการก่อสร้างคู คลอง และแม่น้ำ
วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการทำรังวัดและงานทางด้านสำรวจ สำหรับใช้ในทางด้านแผนที่ รวมถึงการศึกษาทางด้าน จีพีเอส (GPS) และ ภูมิสารสนเทศ (Geoinformatics หรือ Geographic information system;GIS)

แหล่งข้อมูลอื่น