ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อู่ฮั่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ur:ووہان
AlleborgoBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh-min-nan:Bú-hàn-chhī
บรรทัด 173: บรรทัด 173:
[[zh:武汉市]]
[[zh:武汉市]]
[[zh-classical:武漢市]]
[[zh-classical:武漢市]]
[[zh-min-nan:Bú-hàn-chhī]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:54, 16 ธันวาคม 2551

แม่แบบ:กล่องข้อมูล เมืองในจีน

ทิวทัศน์เมืองอู่ฮั่น

อู่ฮั่น เป็นเมืองเอกของมณฑลหูเป่ย์และเป็นเมืองใหญ่สุดในมณฑลเหอเป่ย์ มีพื้นที่ 8,467.11 ตร.กม. (ในเมือง 1,954 ตร.กม.) ประชากร 8,100,000 (พ.ศ. 2549).

แม่น้ำ

เมือง

  • ฮั่นโข่ว (Hankou/漢口) มีประชากรประมาณ 1,500,000 คน
  • อู่ชาง (Wuchang/武昌) มีประชากรประมาณ 1,700,000 คน[1]
  • ฮั่นหยาง (Hanyang/漢陽) มีประชากรประมาณ 900,000 คน
  • นอกเมือง มีประชากรประมาณ 3,900,000 คน

เขต

เขตอู่ฮั่น
    ในเมือง:
    6/ ฮ่องชาน (洪山區)
    7/ เขตเจียงอาน (江岸區)
    8/ เขตเจียงฮั่น (江漢區)
    9/ Qiao-Kou (礄口區)
    10/ เขตฮั่นหยาง (漢陽區)
    11/ เขตอู่ชาง (武昌區)
    12/ เขตชิงชาน (青山區)

    นอกเมือง:
    1/ Huang-Po (黃陂區)
    2/ เขตตงซีหู (東西湖區)
    3/ Chai-Dian (蔡甸區)
    4/ เขตฮั่นหนาน (漢南區)
    5/ เขตเจียงเซี่ย (江夏區)
    11/ เขตซินโจว (新洲區)


ประวัติศาสตร์

พื้นที่แรกตั้งหลักปักฐานมากกว่า 3,000 ปีก่อนระหว่างราชวงศ์ฮั่นกลายเป็นพอร์ทยุ่งอย่างยุติธรรมในพอร์ทโฆษณาศตวรรษของสงครามที่มีชื่อเสียงมากที่สุดที่ 3ในประวัติศาสตร์จีนและเหตุการณ์ศูนย์กลางในRomance ของ 3 ราชอาณาจักร — สงครามของหน้าผาสีแดงสถานที่ใช้ในบริเวณของหน้าผาใกล้ อู่ฮั่น รอบเวลานั้นกำแพงแรกสร้างเพื่อป้องกัน Hanyang ตึกในศตวรรษ 8 แรก กลอนของเขาที่ทำตึกตึกที่ฉลองมากที่สุดในจีนทางใต้เมืองมียาวถูกเป็นศูนย์สำหรับศิลปะ (โดยเฉพาะคำกลอน) และสำหรับการเรียนทางปัญญาใต้ไม้บรรทัดมองโกล(ราชวงศ์ธนบัตรเงินตราของจีน)

เมืองอู่ฮั่น
อนุสาวรีย์ของซุน ยัตเซ็นในเมืองอู่ฮั่น

การคมนาคม

ทางบก

เส้นทางรถไฟขนส่งสายหลักของประเทศ ปักกิ่ง-กว่างตง พาดผ่านทิศตะวันออกของมณฑลหูเป่ย จึงสะดวกต่อการขนส่งปัจจัยการผลิตทั้งในและนอกมณฑล วัตถุดิบที่ขนส่งทางรถไฟในหูเป่ยส่วนใหญ่เป็นประเภทถ่านหิน เหล็ก วัสดุก่อสร้างเช่น ไม้แปรรูป ธัญญาหาร แร่บางชนิด เป็นต้น

ในช่วงทศวรรษที่ 1970 มีการก่อสร้างเส้นทางรถไฟ ผ่านเมืองสำคัญๆ ในมณฑล จากตะวันตกไปตะวันออก จากเหนือล่องใต้ จนถึงปี 1990 มณฑลนี้มีเส้นทางรถไฟรวมระยะทาง 1,673 กิโลเมตรยังมีการบูรณะเส้นทางรถไฟสายเซียงฝัน - ฉงชิ่ง ระยะเมืองเซียงฝัน - อำเภอต๋าเซี่ยน เป็นเส้นทางรถไฟฟ้า ซึ่งนับเป็นสายที่ 3 ของประเทศด้วยทางหลวง

ในปี 2003 โครงการลงทุนก่อสร้างทางหลวงที่สำเร็จไปแล้วได้แก่ ทางด่วนสายอู่ฮั่น - สือเยี่ยน ระยะเซียงฝัน - อู่ฮั่น และเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างทางด่วนสายอู่ฮั่น-สือเยี่ยน กับทางด่วนสายเซียงฝัน - จิงโจว รวมเส้นทางขยายทั้งสิ้น 130.5 กิโลเมตร

ทางน้ำ

เส้นขนส่งทางน้ำก็เป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญในมณฑลหูเป่ย เนื่องจาก มีแม่น้ำสำคัญ 2 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำฉางเจียง (แยงซีเกียง) และแม่น้ำฮั่นเจียง เป็นเส้นทางขนส่งทางน้ำสายหลัก ทั้งนี้เมืองและอำเภอต่างๆกว่าครึ่งหนึ่งในมณฑลหูเป่ยยังใช้เส้นทางน้ำเป็นเส้นทางคมนาคมหลัก ดังนั้นมณฑลนี้จึงมีการอุตสาหกรรมการเดินเรือที่ทันสมัยแห่งหนึ่งของประเทศเมืองท่าต่างๆ อาทิ อู่ฮั่น หวงสือ ซาซื่อ อี๋ชัง มีการเปิดเส้นทางติดต่อกับต่างประเทศมานาน โดยมีท่าเรืออู่ฮั่นเป็นท่าเรือใหญ่ที่สุดของแม่น้ำฉางเจียงตอนล่าง และเป็นท่าเรือที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เนื่องจากเป็น 1 ใน 8 ท่าเรือที่เปิดใช้ในช่วงจีนปฏิรูปอุตสาหกรรมและเปิดประเทศราวปี 1980 และในปีถัดมาก็เปิดเส้นทางเดินเรือ ขนส่งสินค้าไปฮ่องกง ญี่ปุ่น และประเทศในแถบเอเชียอาคเนย์ สำหรับแม่น้ำฮั่นเจียงนั้น เป็นเส้นทางติดต่อไปยังถิ่นทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑล บนที่ราบเจียงฮั่น โดยมีท่าเรือเซียงฝันและท่าเรือเหล่าเหอโข่ว เป็นท่าเรือที่สำคัญ

ทางอากาศ

สถิติเมื่อปี 2000 หูเป่ยมีบริษัทเดินอากาศ 4 แห่ง สนามบินพลเรือน 5 แห่ง สนามบินกองทัพอากาศ 1 แห่ง เปิดเส้นทางบินทั้งในและนอกประเทศ 107 เส้นทาง บินตรงสู่เมืองต่างๆในประเทศ 57 เมือง สนามบินเทียนเหอที่เมืองอู่ฮั่น ยังเป็นสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในภาคกลางของประเทศ

การขนส่ง

สะพานแรก

แผนที่ การขนส่ง อู่ฮั่น (จีน)
สะพานแรกเห็นจาก -- ฮั่นหยาง(漢陽)

สิ่งแรก Chang Jiang สะพานที่ อู่ฮั่น คือสร้างข้าม แม่น้ำแยงซีเกียง (Chang Jiang) ในปี 1957การถือทางรถไฟโดยตรงข้ามแม่น้ำระหว่างภูเขางู ชิ้นของสถาปัตยกรรม Stalinist ในตอนกลางของจีน

สนามบิน

ข้ออ้างอิง

  1. Wuhan sees negative population growth

แหล่งข้อมูลอื่น