ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอฟต์แวร์จำกัดสิทธิ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Banlu Kemiyatorn (คุย | ส่วนร่วม)
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
แก้รูปแบบอ้างอิงแบบเก่าออก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์''' (proprietary software) คือ [[ซอฟต์แวร์]]ที่สิทธิ์ในการใช้งานและทำซ้ำถูกจำกัดหรือสงวนสิทธิ์ไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทำ ผู้อื่นไม่สามารถนำมาใช้งานหรือทำซ้ำได้นอกจากได้รับอนุญาตในสิทธิ์นั้นจากเจ้าของ. proprietary software อาจไม่ได้เป็น ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ เสมอไป, แต่โดยมากแล้ว เจ้าของซอฟต์แวร์มักจะใช้กลไกของระบบกฎหมายลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน เพื่อเป็นเครื่องมือในการสงวนสิทธิ์ของตนเองไว้, ทำให้ซอฟต์แวร์กลายเป็น proprietary software. ตัวอย่างของ proprietary software ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ [[ไมโครซอฟท์ วินโดวส์]] หรือ [[อะโดบีโฟโตชอป]]
{{รอการตรวจสอบ}}

'''Proprietary software''' (โพรไพรเอทารี ซอฟต์แวร์) คือ [[ซอฟต์แวร์]]ที่สิทธิ์ในการใช้งานและทำซ้ำถูกจำกัดหรือสงวนสิทธิ์ไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทำ ผู้อื่นไม่สามารถนำมาใช้งานหรือทำซ้ำได้นอกจากได้รับอนุญาตในสิทธิ์นั้นจากเจ้าของ. proprietary software อาจไม่ได้เป็น ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ เสมอไป, แต่โดยมากแล้ว เจ้าของซอฟต์แวร์มักจะใช้กลไกของระบบกฎหมายลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน เพื่อเป็นเครื่องมือในการสงวนสิทธิ์ของตนเองไว้, ทำให้ซอฟต์แวร์กลายเป็น proprietary software. ตัวอย่างของ proprietary software ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ [[ไมโครซอฟท์ วินโดวส์]] หรือ [[อะโดบีโฟโตชอป]]


คำว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" เป็นคำจำกัดความที่ทาง[[มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี]] (Free Software Foundation, FSF) ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้อธิบายถึงซอฟต์แวร์ที่ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรี เพื่อ ไว้เรียกเปรียบเทียบกับ [[ซอฟต์แวร์เสรี]] หรือ ซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ผู้อื่นใช้งาน แจกจ่าย และ ดัดแปลงแก้ไขได้
คำว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" เป็นคำจำกัดความที่ทาง[[มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี]] (Free Software Foundation, FSF) ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้อธิบายถึงซอฟต์แวร์ที่ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรี เพื่อ ไว้เรียกเปรียบเทียบกับ [[ซอฟต์แวร์เสรี]] หรือ ซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ผู้อื่นใช้งาน แจกจ่าย และ ดัดแปลงแก้ไขได้


ในประเทศไทย บางทีจะใช้คำทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือใช้คำว่า "ซอฟต์แวร์เอกสิทธิ์เฉพาะ" {{อ้าง|ชื่อไทย}}
ในประเทศไทย บางทีจะใช้คำทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือมีการใช้คำว่า "ซอฟต์แวร์เอกสิทธิ์เฉพาะ"<ref>http://developer.thai.net/gpl/</ref>


== ความหมาย ==
== ความหมาย ==
บรรทัด 17: บรรทัด 15:


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{หมายเหตุ|ชื่อไทย}} ชื่อไทยของ Proprietary software จากเว็บ [http://developer.thai.net/gpl/ thai.net]


[[หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์]]
[[หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์]]
[[หมวดหมู่:ลิขสิทธิ์]]
[[หมวดหมู่:ลิขสิทธิ์]]
{{โครงซอฟต์แวร์}}


[[ar:برمجيات احتكارية]]
[[ar:برمجيات احتكارية]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:29, 12 ธันวาคม 2551

ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์ (proprietary software) คือ ซอฟต์แวร์ที่สิทธิ์ในการใช้งานและทำซ้ำถูกจำกัดหรือสงวนสิทธิ์ไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทำ ผู้อื่นไม่สามารถนำมาใช้งานหรือทำซ้ำได้นอกจากได้รับอนุญาตในสิทธิ์นั้นจากเจ้าของ. proprietary software อาจไม่ได้เป็น ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ เสมอไป, แต่โดยมากแล้ว เจ้าของซอฟต์แวร์มักจะใช้กลไกของระบบกฎหมายลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน เพื่อเป็นเครื่องมือในการสงวนสิทธิ์ของตนเองไว้, ทำให้ซอฟต์แวร์กลายเป็น proprietary software. ตัวอย่างของ proprietary software ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ หรือ อะโดบีโฟโตชอป

คำว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" เป็นคำจำกัดความที่ทางมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (Free Software Foundation, FSF) ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้อธิบายถึงซอฟต์แวร์ที่ไม่ใช่ซอฟต์แวร์เสรี เพื่อ ไว้เรียกเปรียบเทียบกับ ซอฟต์แวร์เสรี หรือ ซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ผู้อื่นใช้งาน แจกจ่าย และ ดัดแปลงแก้ไขได้

ในประเทศไทย บางทีจะใช้คำทับศัพท์ว่า "โพรไพรเอทารีซอฟต์แวร์" หรือมีการใช้คำว่า "ซอฟต์แวร์เอกสิทธิ์เฉพาะ"[1]

ความหมาย

ถ้าดูความหมายตามตัวอักษรแล้ว คำนี้จะหมายถึงซอฟต์แวร์ที่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์ (proprietor) - ดังนั้นคำๆ นี้จึงอาจใช้เรียกซอฟต์แวร์ทุกตัวที่ไม่ได้เป็นสาธารณสมบัติ (public domain) ก็ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม FSF ใช้คำๆ นี้เพื่ออธิบายถึงหัวใจสำคัญขั้นพื้นฐานของซอฟต์แวร์นั้นๆ โดยที่ ซอฟต์แวร์เสรี นั้น ยึดเอาเสรีภาพเป็นสิ่งสำคัญขั้นพื้นฐาน ในขณะที่ proprietary software ยึดเอาผู้ที่ถือกรรมสิทธิ์ในตัวซอฟต์แวร์เป็นสำคัญ

คำภาษาอังกฤษว่า "non-free software" (ซอฟต์แวร์ไม่ใช่เสรี) มักจะถูกใช้เพื่อหมายถึง proprietary software เช่นเดียวกัน. บางครั้งริชาร์ด สตอลแมน (Richard Stallman) ผู้ก่อตั้งโครงการกนู และมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี ก็ใช้คำว่า "user subjugating software" (ซอฟต์แวร์กดขี่ผู้ใช้) ในขณะที่ Eben Moglen ใช้คำว่า "unfree software" (ซอฟต์แวร์ไร้เสรี) ในการสนทนาของเขา โดยปกตินักพัฒนาของ Debian มักจะใช้คำว่า "non-free" (ไม่ใช่เสรี) แต่บางทีพวกเขาก็จะพูดถึงหรือใช้คำว่า "proprietary software" ด้วยเช่นกัน ส่วน Open Source Initiative (องค์กรริเริ่มและส่งเสริมโอเพนซอร์ส) จะนิยมใช้คำว่า "closed source software" (ซอฟต์แวร์ไม่เปิดเผยต้นฉบับ)

โดยมีหลักเกณฑ์ทั้งในเชิงกฎหมายและเชิงเทคนิคที่จะพิจารณาว่าซอฟต์แวร์นั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีหรือเป็น proprietary software ดังนี้ ถ้าผู้ถือกรรมสิทธิ์ซอฟต์แวร์ใช้วิธีการทางเทคนิคที่จะขัดขวางไม่ให้ผู้ใช้แก้ไขซอฟต์แวร์ เช่น การปกปิดรหัสต้นฉบับ (source code) ของซอฟต์แวร์ ซอฟแวร์นั้นก็จะถูกจัดว่าเป็น proprietary software ถ้าผู้ถือกรรมสิทธิ์ใช้วิธีการทางกฎหมาย เช่น ลิขสิทธิ์ เพื่อขัดขวางไม่ให้ผู้ใช้แจกจ่ายซอฟต์แวร์ทั้งที่เป็นของเดิมหรือที่ถูกปรับแต่งโดยผู้ใช้ นั้นก็จัดว่าเป็น proprietary software

ในกรณีที่ไม่มีข้อห้ามหรือข้อจำกัดทั้งทางกฎหมายหรือทางเทคนิคดังกล่าวข้างต้นนั้น - กล่าวคือผู้ใช้มีอิสระในการใช้งาน ศึกษาการทำงาน ปรับแต่ง และแจกจ่ายซอฟต์แวร์นั้นๆ - ซอฟต์แวร์นั้นจะไม่จัดว่าเป็น proprietary software; และจัดว่าเป็นซอฟต์แวร์เสรี

อ้างอิง