ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำกร่อย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PoundSterling (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''น้ำกร่อย''' (en:Brackish water) น้ำกร่อย ก็คือน้ำทะเล(น้ำเค็ม) ผสมกับ[[น้ำจ...
 
PoundSterling (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 76: บรรทัด 76:
*[[ต้นจาก]]
*[[ต้นจาก]]
*[[หงอนไก่ทะเล]]
*[[หงอนไก่ทะเล]]

[[ar:ماء مسوس]]
[[cs:Brakická voda]]
[[da:Brakvand]]
[[de:Brackwasser]]
[[et:Riimvesi]]
[[es:Agua salobre]]
[[eo:Saleta akvo]]
[[fr:Saumâtre]]
[[id:Air payau]]
[[is:Ísalt]]
[[he:מים מליחים]]
[[nl:Brakwater]]
[[ja:汽水域]]
[[no:Brakkvann]]
[[nn:Brakkvatn]]
[[nds:Brackwater]]
[[pl:Woda brachiczna]]
[[pt:Água salobra]]
[[simple:Brackish water]]
[[sk:Brakická voda]]
[[sl:Somornica]]
[[fi:Murtovesi]]
[[sv:Bräckt vatten]]
[[vi:Nước lợ]]
[[zh:汽水 (水域)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:40, 6 ธันวาคม 2551

น้ำกร่อย (en:Brackish water) น้ำกร่อย ก็คือน้ำทะเล(น้ำเค็ม) ผสมกับน้ำจืด ดังนั้นบริเวณไหนที่น้ำทะเลเจอกับน้ำจืดได้ สามารถพบได้ตามตามปากอ่าวแม่น้ำออกทะเล เช่น สมุทรปราการ (เจ้าพระยาออกทะเล) บริเวณสมุทรสาคร (ท่าจีนออกทะเล) สมุทรสงคราม (แม่กลองออกทะเล) โดยทั่วไปแล้ว น้ำกร่อยหรือน้ำทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ pH ราว 7.3 ไปจนถึง 8.5 (โดยประมาณนะครับ) เหตุที่น้ำทะเลมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ อธิบายแบบง่าย ๆ ว่าเป็นเพราะในน้ำทะเลมันมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทำให้น้ำเป็นด่างอ่อนแบบนั้นครับ

เครื่องมือวัดความเค็ม บางคนเรียก Salinometer หรือ Refractosalinometer เครื่องมือที่ว่านั้น วัดโดยใช้หลักการหักเหของแสง เค็มมาก หักเหมาก แล้วแปลงไปเป็นสเกลของ ppt (part per thousand = ส่วนในพันส่วน) ซึ่งเป็นหน่วยของค่าความเค็มของน้ำ ความเค็มกับ pH ไม่ได้สัมพันธ์กันโดยตรงครับ เพียงแต่ว่าน้ำทะเลมี pH สูงกว่าน้ำจืด แต่น้ำในนาเกลือที่มีความเค็มเกิน 100 ppt ก็มีค่า pH ไม่แตกต่างจากน้ำทะเลปกติ (ไม่นับปัจจัยอย่างอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยนะครับ เช่น ค่า DO หรือ คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น)


รายชื่อปลาน้ำกร่อย


ต้นไม้น้ำกร่อย