ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายพระนามและชื่อผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก."

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
Rikker04 (คุย | ส่วนร่วม)
fix capitalization/spelling
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''[[เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์]]''' (The most illustrious order of the royel house of chakri) มีอักษรย่อว่า ม.จ.ก. มี[[พระมหากษัตริย์]]ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะทรงพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ที่สืบเนื่องโดยตรงใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]หรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ดังนี้
'''[[เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์]]''' (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม.จ.ก. มี[[พระมหากษัตริย์]]ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะทรงพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ที่สืบเนื่องโดยตรงใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]หรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ดังนี้


== พระราชวงศ์ไทย ==
== พระราชวงศ์ไทย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:21, 20 พฤศจิกายน 2551

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม.จ.ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะทรงพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ดังนี้

พระราชวงศ์ไทย

ประธานแห่งเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์

พระบรมวงศานุวงศ์

พระนาม อ้างอิง
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ [1]
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร [2]
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี [3]
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี [4]
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี [5]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ [6]

สวรรคตหรือสิ้นพระชนม์

พระนาม อ้างอิง
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี
สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี [7]
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก [8]
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา [9]
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี [10]
สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร [11]
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ [12]
สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ [13]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต [14]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร [15]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ [16]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา [17]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย [18]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ [19]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ [20]
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา [21]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ [22]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ [23]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ [24]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ [25]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน [26]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ [27]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม [28]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช [29]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ [30]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ [31]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ [32]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี [33]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ [34]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช [35]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร [36]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ [37]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ [38]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ [39]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา [40]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร [41]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม [42]
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช [43]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงศ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงศ์จักรพรรดิ [44]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต [45]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล [46]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรณ์มงคลการ
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต [47]
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ [48]
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย [49]
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ
พระนางเธอลักษมีลาวัณ [50]
พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ [51]

เจ้าประเทศราช

ประมุขหรือพระราชวงศ์ต่างประเทศ

พระนาม ประเทศ วันที่ อ้างอิง
เอมีล ลูเบต์ (Émile Loubet) ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส 29 สิงหาคม พ.ศ. 2445 [52]
แกรนด์ดยุค มอริส วลาดิมิโรวิตซ์ รัสเซีย 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2446 [53]
อาร์มองด์ ฟาลีแยร์ส ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส 20 มิถุนายน พ.ศ. 2450 [54]
สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 สหราชอาณาจักร 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 [55]
เรย์มอง ปวงคาเร (Raymond Poincaré) ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส 1 สิงหาคม พ.ศ. 2460 [56]
สมเด็จพระยุพราชฮิโระฮิโตะ ประเทศญี่ปุ่น 30 มกราคม พ.ศ. 2468 [57]
กาสตง ดูแมรก์ ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส 30 มกราคม พ.ศ. 2468 [58]
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ ประเทศกัมพูชา 15 ธันวาคม พ.ศ. 2497 [59]
ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา 28 มิถุนายน พ.ศ. 2503 [60]
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สหราชอาณาจักร 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 [61]
สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 นอร์เวย์ 19 กันยายน พ.ศ. 2503 [62]
สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง เบลเยียม 4 ตุลาคม พ.ศ. 2503 [63]
ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส 11 ตุลาคม พ.ศ. 2503 [64]
แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อต ลักเซมเบิร์ก 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 [65]
สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนา เนเธอร์แลนด์ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2503 [66]
สมเด็จพระราชินีเฟรเดลิกา ประเทศกรีซ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 [67]
สมเด็จพระราชาธิบดีฮวน คาร์ลอสที่ 1 สเปน 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 [68]
สมเด็จพระราชินีโซเฟีย สเปน 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 [69]
สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ ประเทศญี่ปุ่น

อ้างอิง

  • สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ตำนานเครื่องราชอิศริยาภรณ์สยาม, พระนคร, โสภณพิพรรฒธนากร, 2468.