ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rikker04 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แก้คำอธิบายภาพ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:RID 1999.jpg|thumb|right|200px|พ.ศ. 2542]]
[[ภาพ:RID 1999.jpg|thumb|right|200px|พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]
'''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน''' เป็น[[พจนานุกรม]]อธิบายศัพท์[[ภาษาไทย]] ที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อให้การเขียนหนังสือไทยมีมาตรฐานเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงตามลำดับเรื่อยมา เมื่อปรับปรุงพจนานุกรมฉบับหนึ่งๆ แล้วเสร็จจึงได้ออกประกาศ '''เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด''' ให้หนังสือราชการ และการศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน ใช้ตัวสะกดตาม '''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน''' เช่นนี้ เสมอไป
'''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน''' เป็น[[พจนานุกรม]]อธิบายศัพท์[[ภาษาไทย]] ที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อให้การเขียนหนังสือไทยมีมาตรฐานเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงตามลำดับเรื่อยมา เมื่อปรับปรุงพจนานุกรมฉบับหนึ่งๆ แล้วเสร็จจึงได้ออกประกาศ '''เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด''' ให้หนังสือราชการ และการศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน ใช้ตัวสะกดตาม '''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน''' เช่นนี้ เสมอไป



รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:34, 7 พฤศจิกายน 2551

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาไทย ที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อให้การเขียนหนังสือไทยมีมาตรฐานเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงตามลำดับเรื่อยมา เมื่อปรับปรุงพจนานุกรมฉบับหนึ่งๆ แล้วเสร็จจึงได้ออกประกาศ เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด ให้หนังสือราชการ และการศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียน ใช้ตัวสะกดตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เช่นนี้ เสมอไป

ประวัติ

หนังสือ ปทานุกรม จัดจำหน่ายในปี พ.ศ. 2470 ซึ่งจัดทำโดย กระทรวงธรรมการ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงศึกษาธิการ) เป็นหนังสือรวบรวมคำในภาษาไทยพร้อมอธิบายความหมาย แต่ยังมีข้อบกพร่องอยู่ จึงได้จัดตั้งคณะกรรมการชำระปทานุกรมขึ้น เพื่อพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมปทานุกรมดังกล่าว ภายหลังได้มีการสถาปนาราชบัณฑิตยสถาน เมื่อ พ.ศ. 2477 จึงได้โอนงานจากคณะกรรมการชำระไปอยู่ในราชบัณฑิตยสถาน และเปลี่ยนชื่อจาก ปทานุกรม เป็น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ในที่สุด

ประวัติการพิมพ์

แหล่งข้อมูลอื่น