ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปัชฌาย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Vetbook (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


อุปัชฌาย์ในปัจจุบันจะต้องได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องตาม[[กฎหมาย]]ว่าด้วยการคณะ[[สงฆ์]] เป็นเองไม่ได้
อุปัชฌาย์ในปัจจุบันจะต้องได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องตาม[[กฎหมาย]]ว่าด้วยการคณะ[[สงฆ์]] เป็นเองไม่ได้
กล่าวคือ ต้องเป็นพะอุปัชฌาย์ ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๗ ( พ.ศ. ๒๕๓๖ ) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:24, 24 ตุลาคม 2551

อุปัชฌาย์ (อ่านว่า อุปัดชา, อุบปัดชา) ความหมายโดยพยัญชนะ แปลว่า ผู้เข้าไปเพ่ง คือคอยดูแลเอาใจใส่ คอยแนะนำพรำเตือนลัทธิวิหาริก (ลูกศิษย์) ของตน โดยหมายถึง พระเถระผู้ทำหน้าที่เป็นประธานในการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา เรียกทั่วไปว่า พระอุปัชฌาย์

พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก ๒ อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็นผู้รับปกครองดูแล แนะนำ ตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้ เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตร

อุปัชฌาย์ในปัจจุบันจะต้องได้รับการแต่งตั้งอย่างถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการคณะสงฆ์ เป็นเองไม่ได้ กล่าวคือ ต้องเป็นพะอุปัชฌาย์ ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๗ ( พ.ศ. ๒๕๓๖ ) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์

อ้างอิง

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548