ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมอญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{อักษรพม่า}}
{{อักษรพม่า}}
'''อักษรมอญ''' พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[ล้านนา]]และ[[ล้านช้าง]]
'''อักษรมอญ''' พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] ผ่านทาง[[อักษรปัลลวะ]] และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น [[อักษรพม่า]] [[อักษรไทย]] [[อักษรลาว]] [[อักษรล้านนา]] [[อักษรไทลื้อ]] อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ใน[[ล้านนา]]และ[[ล้านช้าง]]
ได้โปรดเข้าใจด้วยว่า อักษรมอญ ไม่สามารถใช้แทน อักษรพม่าได้ ในนี้มีถูกบางอักษรเท่านั้น เพราะว่าอักษรมอญ และ พม่านั้น มีบางตัวอักษร ที่ต่างกัน เช่นพยัญชนะ มอญนั้น มีอยู่ 35 ตัว และพม่านั้น มีอยู่ 32
ตัว เพราะ ฉะนั้นจึงไม่สามารถใช้แทนกันได้บางตัวอักษร


อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ [[เวียงมโน]] [[เวียงเถาะ]] รูปแบบของอักษรมอญต่างจาก[[อักษรขอม]]ที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย
อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ [[เวียงมโน]] [[เวียงเถาะ]] รูปแบบของอักษรมอญต่างจาก[[อักษรขอม]]ที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:49, 12 ตุลาคม 2551

อักษรมอญและพม่า
พยัญชนะมอญและพม่า
က (k) (hk) (g) (gh) (ng)
(c) (hc) (j) (jh) (ny)
(t) (ht) (d) (dh) (n)
(t) (ht) (d) (dh) (n)
(y) (r) (l) (w) (s)
(h) (l) (b)* (a) (b)*
สระลอยพม่า
အ (a) ဣ (i) ဤ (ii) ဥ (u) ဦ (uu)
ဧ (e) ဩ (o) ဪ (au)
สระลอยมอญ
အ (a) အာ (aa) ဣ (i) (ii)*
ဥ (u) ဥႂ (uu) ၉ (e) အဲ (ua) ဩ (au)
(aau)* အံ (aom) အး (a:)
สระประสม
ဢာ (aa) ဢိ (i) ဢီ (ii) ဢု (u) ဢူ (uu)
ေဢ (e) ဢဲ (ua) ေဢာ (au)
เครื่องหมาย และอักขระพิเศษ
ဢံ (อนุนาสิก) ဢ့ (อนุสวาร)
ဢး (Visarga) ဢ္ (Virama)
၊ (Little Section) ။ (Section)
၌ (Locative) ၍ (Completed)
၏ (Genitive) ၎ (Aforementioned)
ၐ (sha) ၑ (ssa) ၒ (r) ၓ (rr) ၔ (l)
ၕ (ll) ၖ (r) ၗ (rr) ဢၘ (l) ဢၙ (ll)
ตัวเลข
၀၁၂၃၄၅၆၇၈၉ ดูที่เลขมอญ และเลขพม่า
* มีใช้เฉพาะในภาษามอญ ไม่มีในชุดอักษรพม่า
????? หน้านี้มีตัวอักษรพม่าที่อาจจะไม่แสดงผล ควรติดตั้งฟอนต์ยูนิโคด 5.1 สำหรับอักษรพม่า

อักษรมอญ พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ อักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในล้านนาและล้านช้าง ได้โปรดเข้าใจด้วยว่า อักษรมอญ ไม่สามารถใช้แทน อักษรพม่าได้ ในนี้มีถูกบางอักษรเท่านั้น เพราะว่าอักษรมอญ และ พม่านั้น มีบางตัวอักษร ที่ต่างกัน เช่นพยัญชนะ มอญนั้น มีอยู่ 35 ตัว และพม่านั้น มีอยู่ 32 ตัว เพราะ ฉะนั้นจึงไม่สามารถใช้แทนกันได้บางตัวอักษร

อักษรมอญโบราณพัฒนามาจากอักษรยุคหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษ 13-15) พบจารึกอักษรนี้ในเขตหริภุญชัย เช่นที่ เวียงมโน เวียงเถาะ รูปแบบของอักษรมอญต่างจากอักษรขอมที่พัฒนาจากอักษรในอินเดียใต้รุ่นเดียวกันคือ อักษรมอญตัดบ่าอักษรออกไป ทำให้รูปอักษรค่อนข้างกลม ส่วนอักษรขอมเปลี่ยนบ่าอักษรเป็นศกหรือหนามเตย

ลักษณะ

พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุดคือ พยัญชนะเสียงไม่ก้อง (อโฆษะ เสียงขุ่น) พื้นเสียงเป็นอะ พยัญชนะเสียงก้อง (โฆษะ เสียงใส) พื้นเสียงเป็นเอียะ เมื่อประสมสระ พยัญชนะต่างชุดกันออกเสียงต่างกัน มีรูปพยัญชนะซ้อน เมื่อเป็นตัวควบกล้ำ

ใช้เขียน

อ้างอิง

  • พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม. ศิลปวัฒนธรรม. 2548
  • สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน. มติชน. 2548