ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูกเนื้อโปร่ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ลบส่วนโฆษณาออก
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นของ BotKung ด้วยสจห.: ลบเนื้อหาที่ไม่เกี่ยวข้องและโฆษณา
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
| Name = กระดูกเนื้อโปร่ง, กระดูกฟ่าม, กระดูกฟองน้ำ, หรือกระดูกพรุน<br> (Cancellous bone)
| Name = กระดูกเนื้อโปร่ง, กระดูกฟ่าม, กระดูกฟองน้ำ, หรือกระดูกพรุน<br> (Cancellous bone)
บรรทัด 19: บรรทัด 20:
เนื้อเยื่อกระดูกอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า [[กระดูกเนื้อแน่น]] (cortical bone) ซึ่งจัดเรียงตัวเป็นผิวแข็งชั้นนอกของ[[กระดูก]]
เนื้อเยื่อกระดูกอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า [[กระดูกเนื้อแน่น]] (cortical bone) ซึ่งจัดเรียงตัวเป็นผิวแข็งชั้นนอกของ[[กระดูก]]


== โรคกระดูกพรุน (Spine Center) ==
โรคกระดูกพรุน เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีมวล[[กระดูก]]ต่ำกว่าปกติและมีแนวโน้มต่ำลงเรื่อย ๆ จนเป็นสาเหตุให้เกิดกระดูกหักจากอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย และมีโอกาสที่ทำให้กระดูก เมื่อหักแล้วจะไม่ติดกัน โดยปกติกระดูกของคนเราเป็นอวัยวะที่มีชีวิต กระดูกมี[[เซลล์]]หลักอยู่ 2 ชนิด ชนิดแรก เป็นนเซลล์กระดูกที่มีหน้าที่สลายกระดูก เรียกว่า Osteoclast เซลล์อีกชนิดหนึ่งมีหน้าที่สร้างกรดูกใหม่ เรียกว่า Osteoblast ซึ่งเซลล์ทั้ง 2 ชนิดนี้ทำงานอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจนตาย

'''ช่วงเวลาของการสร้างและสลายกระดูกสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ช่วงดังนี้'''

1. ช่วงของการสร้างมวลกระดูก

เริ่มต้นเมื่อแรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 30 ปี ช่วงนี้เป็นช่วงที่มีการสร้างมวลกระดูกมากกว่าการสลายมวลกระดูก มวลกระดูกของร่างกายจึงเพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุดที่เรียกว่า Peak Bone Mass

2. ช่วงของการคงมวลกระดูก

หลังจากอายุ 30 ปี ไปแล้ว การสร้างกระดูกจะลดลงจนเท่ากับการสลายกระดูก มวลกระดูกรวมจึงคงที่ ไปจนถึงอายุประมาณ 45 ปี

3. ช่วงการสลายมวลกระดูก

จากอายุ 45 ปีขึ้นไป การสร้างมวลกระดูกจะลดลงเรื่อย ๆ มวลกระดูกรวมของ[[ร่างกาย]]จึงลดลงตามลำดับ สตรีในช่วงหมดประจำเดือน การสลายมวลกระดูกจะรวดเร็วมากทำให้มวลกระดูกลดลงอย่างรวดเร็ว

'''อัยตรายของโรคกระดูกพรุน'''

แม้ว่าโรคกระดูกพรุนจะไม่ได้ทำให้เสียชีวิตโดยตรง แต่โรคกระดูกพรุนเป็นจุดเริ่มต้นของ[[โรค]]ต่าง ๆ มากมาย จากการเคลื่อนไหวร่างกายที่ทำได้ไม่เต็มที่ อันเนื่องมาจากอาการปวด หรือภาวะกระดูกหัก เช่น ภาวะถุงลมโป่งพอง ภาวะการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ภาวะ[[โรคหัวใจ]]และหลอด[[เลือด]] อันเป็นสาเหตุให้สุขภาพโดยรวมเลวลงอย่างรวดเร็วจนอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ การพักรักษาตัวเป็นเวลานาน ย่อมทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ขึ้นได้
เมื่อผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนได้รับอุบัติเหตุทำให้เกิดภาวะกระดูกหักขึ้น กระดูกนั้นจะใช้เวลาในการเชื่อมต่อตัวเองนานกว่ากระดูกปกติ หรืออาจไม่ติดเลยก็ได้ ผู้ป่วยจะต้องอยู่ในเผือกนานขึ้น เป็นสาเหตุให้เกิดอาการข้อยึดติด ไม่สามารถใช้ร่างกายส่วนนั้นได้เป็นระยะเวลานาน หรืออาจต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดยึดกระดูกซึ่งผลการรักษามักไม่ได้ผลดี

'''อาการของโรคกระดูกพรุน'''

ปวดหลัง เป็นอาการหนึ่งที่พบได้ในผู้ป่วยสูงอายุที่มีโรคกระดูกพรุน ส่วนในผู้ป่วยที่อายุยังน้อย โรคกระดูกพรุนมักจะไม่มีอาการใด ๆ การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุน เมื่อผลตรวจมวลกระดูกพบว่ากระดูกปกติ
'''สิ่งที่ควรปฏิบัติเพื่อป้องกันไม่ให้เป็นโรคกระดูกพรุน คือ'''

* ออกกำลังกาย ให้เหมาะสมกับเพศและวัยเป็นประจำ
* รับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียม
* ตววจมวลกระดูกประจำทุกปี
* ตรวจสุขภาพประจำปี ดูแลสุขภาพโดยรวมให้ดีอยู่ตลอด

'''การแปรผลการตรวจมวลกระดูกจะแปรผลออกมา คือ'''

*มวลกระดูกปกติ ( Normal) หมายถึง มีมวลกระดูกหนาแน่นเป็นปกติในอายุยังน้อย
*มวลกระดูกบาง (Osteopenia) หมายถึง มีมวลกระดูกน้อยกว่าปกติ แต่ยังไม่ถึงขั้นเป็นโรคกระดูกพรุน เป็นภาวะที่ต้องรับการรักษาก่อนที่จะเป็นโรคกระดูกพรุน
*กระดูกพรุน (Osteoporosis) หมายถึง มีมวลกระดูกน้อยกว่าปกติมากจนเลี่ยงต่อกระดูกหักหรือกระดูกยุบตัว

== การรักษาโรคกระดูกพรุน ==

ผู้ป่วยที่ต้องเข้ารับการรักษาโรคกระดูกพรุน คือ

1. ผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)

2. ผู้ป่วยที่เนโรคกระดูกบาง (Osteopenia)

3. ผู้ป่วบทีมีมวลกระดูกปกติ แต่ลดลงจากปีที่แล้วมากกว่าค่าเฉลี่ยทั่วไป

การรักษาโรคกระดูกพรุนด้วยยารักษาต่าง ๆ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคกระดูกบางและโรคกระดูกพรุน นอกจากจะทำให้ผู้ป่วยหายทรมานจากอาการปวดหลังเรื้อรังแล้ว ยังลดโอกาสที่ผู้ป่วยเกิดภาวะกระดูกหักจากอุบัติเหตุได้อีกด้วย
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://pub.ucsf.edu/magazine/200305/genes.html Article with some info on spongy bone]
* [http://pub.ucsf.edu/magazine/200305/genes.html Article with some info on spongy bone]
บรรทัด 75: บรรทัด 25:
* {{eMedicineDictionary|substantia+spongiosa}}
* {{eMedicineDictionary|substantia+spongiosa}}
* [http://w3.ouhsc.edu/histology/Glass%20slides/69_02.jpg Histology at OU 69_02 - Femur]
* [http://w3.ouhsc.edu/histology/Glass%20slides/69_02.jpg Histology at OU 69_02 - Femur]
* [[โรงพยาบาลเวชธานี]]- "[http://www.vejthani.com/ เว็บไซต์โรงพยาบาลเวชธานี]: ศูนย์กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลเวชธานี"






รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:47, 9 ตุลาคม 2551

กระดูกเนื้อโปร่ง, กระดูกฟ่าม, กระดูกฟองน้ำ, หรือกระดูกพรุน
(Cancellous bone)
ภาพแสดงภาคตัดขวางของกระดูกยาว แสดงกระดูกเนื้อโปร่งอยู่ศูนย์กลางด้านใน
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์แสดงกระดูกเนื้อโปร่ง ย้อมด้วยสี H&E แสดงทราบีคูลา (trabeculae; ย้อมติดสีชมพู) และเนื้อเยื่อไขกระดูก (ย้อมติดสีน้ำเงิน)
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษาละตินsubstantia spongiosa ossium
MeSHD000071556
TA98A02.0.00.004
TA2380
FMA24019
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

กระดูกเนื้อโปร่ง, กระดูกฟ่าม, กระดูกฟองน้ำ, หรือกระดูกพรุน (spongy bone, cancellous bone, trabecular bone) เป็นเนื้อเยื่อกระดูกชนิดหนึ่งซึ่งมีความหนาแน่นและความแข็งแกร่งน้อยกว่า แต่มีพื้นที่ผิวมากกว่า กระดูกชนิดนี้มีลักษณะโปร่งคล้ายเส้นใยสานกันจะอยู่ภายในโพรงของกระดูกยาว ชั้นนอกของกระดูกเนื้อโปร่งจะประกอบด้วยไขกระดูกแดง (red bone marrow) ซึ่งเป็นแหล่งที่ผลิตองค์ประกอบของเลือด (ที่เรียกกันว่า การกำเนิดเซลล์เม็ดเลือด (hematopoiesis)) กระดูกเนื้อโปร่งนี้จะเป็นที่อยู่ของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ

เนื้อเยื่อกระดูกอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า กระดูกเนื้อแน่น (cortical bone) ซึ่งจัดเรียงตัวเป็นผิวแข็งชั้นนอกของกระดูก

แหล่งข้อมูลอื่น