ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวิท ฮิลเบิร์ท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ภาพ:Hilbert.JPG|thumb|right|ดาฟิด ฮิลแบร์ท]]
[[ภาพ:Hilbert.JPG|thumb|right|ดาฟิด ฮิลแบร์ท]]


'''ดาฟิด ฮิลแบร์ท''' ([[23 ม.ค.]], ค.ศ. 1862 ([[พ.ศ. 2405]]) - [[14 ก.พ.]], ค.ศ. 1943 ([[พ.ศ. 2486]])) เป็น[[นักคณิตศาสตร์]], [[นักปรัชญา]]และนัก[[ฟิสิกส์]] ชาว[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมัน]] เกิดที่[[เมืองเวลู]] ใกล้ ๆ กับ[[เมืองโคนิสเบิร์ก]] [[แคว้นปรัสเซีย]] (ปัจจุบันนี้คือ[[เมืองซนาเมนสค์]] ใกล้กับ[[คาลินินกราด]], [[ประเทศรัสเซีย]]) ฮิลแบร์ทได้รับการยอมรับว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20   แม้ว่าผลงานของเขาเองก็มากพอที่จะทำให้เขาได้รับการยกย่องนี้ แต่ความเป็นผู้นำทางด้านคณิตศาสตร์ของเขาในช่วงบั้นปลายชีวิตต่างหาก ที่ทำให้เขาโดดเด่นจากผู้อื่น   เขาเป็นศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยเกิตติงเงน]]แทบจะทั้งชีวิตของเขา
'''ดาฟิด ฮิลแบร์ท''' ([[23 มกราคม|23 ม.ค.]], ค.ศ. 1862 ([[พ.ศ. 2405]]) - [[14 กุมภาพันธ์|14 ก.พ.]], ค.ศ. 1943 ([[พ.ศ. 2486]]); อายุ 81 ปี) เป็น[[นักคณิตศาสตร์]], [[นักปรัชญา]]และนัก[[ฟิสิกส์]] ชาว[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมัน]] เกิดที่[[เมืองเวลู]] ใกล้ ๆ กับ[[เมืองโคนิสเบิร์ก]] [[แคว้นปรัสเซีย]] (ปัจจุบันนี้คือ[[เมืองซนาเมนสค์]] ใกล้กับ[[คาลินินกราด]], [[ประเทศรัสเซีย]]) ฮิลแบร์ทได้รับการยอมรับว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20   แม้ว่าผลงานของเขาเองก็มากพอที่จะทำให้เขาได้รับการยกย่องนี้ แต่ความเป็นผู้นำทางด้านคณิตศาสตร์ของเขาในช่วงบั้นปลายชีวิตต่างหาก ที่ทำให้เขาโดดเด่นจากผู้อื่น   เขาเป็นศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยเกิตติงเงน]]แทบจะทั้งชีวิตของเขา


นอกจากงาน[[คณิตศาสตร์]]แล้ว เขายังมีอิทธิพลในด้าน[[ฟิสิกส์]]ด้วย กล่าวคือ เขาเป้นหนึ่งในผู้ให้กำเนิด[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] ร่วมกับ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] แต่ไม่ได้หมายความว่าไอน์สไตน์ลอกงานของฮิลแบร์ท เพียงแต่ทฤษฎีของทั้งคู่มีความคล้ายคลึงกัน
นอกจากงาน[[คณิตศาสตร์]]แล้ว เขายังมีอิทธิพลในด้าน[[ฟิสิกส์]]ด้วย กล่าวคือ เขาเป้นหนึ่งในผู้ให้กำเนิด[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] ร่วมกับ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] แต่ไม่ได้หมายความว่าไอน์สไตน์ลอกงานของฮิลแบร์ท เพียงแต่ทฤษฎีของทั้งคู่มีความคล้ายคลึงกัน
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
*ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 23 ข้อ
*ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 23 ข้อ
*ฮิลแบร์ท [[เมตริกซ์]]
*ฮิลแบร์ท [[เมตริกซ์]]
*ฮิลแบร์ท นัมเบอร์ (จำนวนของฮิลแบร์ท) มาจากรูปแบบ ''4n+1'' ได้แก่จำนวนเต็มบวก 1, 5, 9, 13, 17, 21, 25, 29, 33, 37, 41, 45, 49, 53, 57, 61, 65, 69, 73... จำนวนเหล่านี้เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า '''จำนวนเฉพาะของ[[ปีทาโกรัส]]''' หรือ จำนวนกึ่งเฉพาะ ซึ่งมีรูปแบบ ''(4a + 3) × (4b + 3)''
*ฮิลแบร์ท นัมเบอร์ (จำนวนของฮิลแบร์ท) มาจากรูปแบบ ''4n+1'' ได้แก่จำนวนเต็มบวก 1, 5, 9, 13, 17, 21, 25, 29, 33, 37, 41, 45, 49, 53, 57, 61, 65, 69, 73... จำนวนเหล่านี้เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า '''จำนวนเฉพาะของ[[พีทาโกรัส]]''' หรือ จำนวนกึ่งเฉพาะ ซึ่งมีรูปแบบ ''(4a + 3) × (4b + 3)''
*ฮิลแบร์ท โพลีโนเมียล ([[พหุนาม]]ของฮิลแบร์ท)
{{birth|1862}}{{death|1943}}
{{birth|1862}}{{death|1943}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:32, 20 กันยายน 2551

ไฟล์:Hilbert.JPG
ดาฟิด ฮิลแบร์ท

ดาฟิด ฮิลแบร์ท (23 ม.ค., ค.ศ. 1862 (พ.ศ. 2405) - 14 ก.พ., ค.ศ. 1943 (พ.ศ. 2486); อายุ 81 ปี) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักปรัชญาและนักฟิสิกส์ ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเวลู ใกล้ ๆ กับเมืองโคนิสเบิร์ก แคว้นปรัสเซีย (ปัจจุบันนี้คือเมืองซนาเมนสค์ ใกล้กับคาลินินกราด, ประเทศรัสเซีย) ฮิลแบร์ทได้รับการยอมรับว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20   แม้ว่าผลงานของเขาเองก็มากพอที่จะทำให้เขาได้รับการยกย่องนี้ แต่ความเป็นผู้นำทางด้านคณิตศาสตร์ของเขาในช่วงบั้นปลายชีวิตต่างหาก ที่ทำให้เขาโดดเด่นจากผู้อื่น   เขาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเกิตติงเงนแทบจะทั้งชีวิตของเขา

นอกจากงานคณิตศาสตร์แล้ว เขายังมีอิทธิพลในด้านฟิสิกส์ด้วย กล่าวคือ เขาเป้นหนึ่งในผู้ให้กำเนิดทฤษฎีสัมพัทธภาพ ร่วมกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ แต่ไม่ได้หมายความว่าไอน์สไตน์ลอกงานของฮิลแบร์ท เพียงแต่ทฤษฎีของทั้งคู่มีความคล้ายคลึงกัน

ผลงานโดยสังเขป

  • ฮิลแบร์ท สเปซ (ช่องว่างของฮิลแบร์ท) ในทางฟิสิกส์ถือว่าเป็นมิติหนึ่งที่ไม่มีที่สิ้นสุด
  • ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 23 ข้อ
  • ฮิลแบร์ท เมตริกซ์
  • ฮิลแบร์ท นัมเบอร์ (จำนวนของฮิลแบร์ท) มาจากรูปแบบ 4n+1 ได้แก่จำนวนเต็มบวก 1, 5, 9, 13, 17, 21, 25, 29, 33, 37, 41, 45, 49, 53, 57, 61, 65, 69, 73... จำนวนเหล่านี้เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า จำนวนเฉพาะของพีทาโกรัส หรือ จำนวนกึ่งเฉพาะ ซึ่งมีรูปแบบ (4a + 3) × (4b + 3)
  • ฮิลแบร์ท โพลีโนเมียล (พหุนามของฮิลแบร์ท)