ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงขอทาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: '''เพลงขอทาน''' หรือ'''วณิพก''' เป็นเพลงพื้นบ้านชนิดหนึ่งมีมาตั้ง...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ก่อนร้องจะมีการโหมโรง คือมีบทเกริ่น เนื้อร้องเป็น[[กลอน]]ประเภทกลอนหัวเดียวเหมือนกับ[[เพลงฉ่อย]] [[เพลงเรือ]] มีสัมผัสท้ายไปเรื่อย ๆ ลงสัมผัสกันระหว่างสามวรรคหลัง ก่อนร้องจะมีการโหมโรง เนื้อร้องจะลงเป็นตอน ๆ ความยาวแล้วแต่เรื่องที่จะร้อง ถ้าเล่นหลายคนจะมีลูกคู่ร้องรับ ในสองวรรคสุดท้ายทุกตอน
ก่อนร้องจะมีการโหมโรง คือมีบทเกริ่น เนื้อร้องเป็น[[กลอน]]ประเภทกลอนหัวเดียวเหมือนกับ[[เพลงฉ่อย]] [[เพลงเรือ]] มีสัมผัสท้ายไปเรื่อย ๆ ลงสัมผัสกันระหว่างสามวรรคหลัง ก่อนร้องจะมีการโหมโรง เนื้อร้องจะลงเป็นตอน ๆ ความยาวแล้วแต่เรื่องที่จะร้อง ถ้าเล่นหลายคนจะมีลูกคู่ร้องรับ ในสองวรรคสุดท้ายทุกตอน


== อ้างอิง ==
<references />

{{เรียงลำดับ|พเพลงขอทาน}}
[[หมวดหมู่:ดนตรีในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ดนตรีในประเทศไทย]]
{{โครงดนตรี}}
{{โครงดนตรี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:44, 11 กันยายน 2551

เพลงขอทาน หรือวณิพก เป็นเพลงพื้นบ้านชนิดหนึ่งมีมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เป็นเพลงที่วณิพกใช้ร้อง เล่านิทาน เพื่อขอแลกเปลี่ยนเป็นเงิน หรือสิ่งของ

มีลักษณะเนื้อหาเป็นเรื่องนิทานชาดก จักร ๆ วงศ์ ๆ [1]และมักมีเครื่องดนตรีประกอบการร้องเช่น เช่น ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง และโทน เป็นต้น มีลูกคู่ และเพิ่มเครื่องกำกับจังหวะตามถนัด การขอแบบมีเสียงเพลงหรือเสียงดนตรีแลกเปลี่ยน เรียกว่า "วณิพก " ส่วนไม่มีเพลงหรือดนตรีเรียกว่า "ยาจก"หรือ "กระยาจก "

ก่อนร้องจะมีการโหมโรง คือมีบทเกริ่น เนื้อร้องเป็นกลอนประเภทกลอนหัวเดียวเหมือนกับเพลงฉ่อย เพลงเรือ มีสัมผัสท้ายไปเรื่อย ๆ ลงสัมผัสกันระหว่างสามวรรคหลัง ก่อนร้องจะมีการโหมโรง เนื้อร้องจะลงเป็นตอน ๆ ความยาวแล้วแต่เรื่องที่จะร้อง ถ้าเล่นหลายคนจะมีลูกคู่ร้องรับ ในสองวรรคสุดท้ายทุกตอน

อ้างอิง

  1. เพลงขอทาน