ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mixvasuvadh (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17: บรรทัด 17:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
มหาวิทยาลัยนเรศวรได้ดำเนินการจัดตั้ง '''"ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy Research and Training)"''' เมื่อปี [[พ.ศ. 2535]] และได้ปรับสถานะของหน่วยงานเป็น '''"วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร"''' ในวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]]
วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเริ่มมาจากการเป็นศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy Research and Training Center SERT) โดยได้ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี [[พ.ศ.2535]]


ได้ปรับสถานะของหน่วยงานเป็น วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2546]] โดยวิทยาลัยพลังงานทดแท มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหน่วยงานซึ่งอยู่ภายใต้กำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการวิจัยและพัฒนาด้านพลังงานในรูปแบบบต่างๆ โดยเน้น[[พลังงานทดแทน]]ต่างๆเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานจากน้ำ พลังงานลม พลังงานมวลชีวภาพ และพลังงานใต้พิภพ หรือพลังงานอื่นๆ เป็นศูนย์กลาง การบริการ

อีกทั้งวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในระดับปริญญาฝดทและเอก ทางด้านพลังงานทดแทน เพื่อผลิตและเพิ่มจำนวนนักวิทยาศาสตร์ในสาขาพลังงานต่อไปทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ยังเป็นหน่วยงานที่บริการข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน และนวัตกรรมพลังงานในการสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย และการฝึกอบรมในรูปเครือข่ายความร่วมมือในระดับประเทศและนานาชาติ เป็นศูนย์ทดสอบทางด้านระบบและอุปกรณ์ด้านพลังงานต่างๆ ตามมาตรฐานสากล และร่วมประกอบการในธุรกิจด้านพลังงานในลักษณะเครือข่ายครบวงจรเทคโนโลยีที่มีความพร้อมและศักยภาพที่เหมาะสมกับความต้องการของประเทศและนานาชาติ โดยแสวงหาโอกาสที่จะนำเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้เพื่อประหยัดพลังงานและลดผลกระทบจากมลภาวะที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิล ซึ่งมีผลต่อการยกระดับแสวงหาโอกาสที่จะนำเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้เพื่อประหยัดพลังงาน และลดผลกระทบจากมลภาวะที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิลซึ่งมีผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและสภาวะแวดล้อมของการดำรงชีวิตของมนุษย์ ส่งเสริมและเผยแพร่ให้เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์์เป็นที่รู้จักในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไปอย่างสมบูรณ์

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวรประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานเพื่อการวิจัย การพัฒนา กาแหล่งเงินทุน แหล่งอุตสาหกรรมและการตลาดในรูปของเครือข่ายในเขตภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านพลังงานแสงอาทิตย์ สำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนในหลักสูตรการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน การวิจัยของอาจารย์ นิสิต นักวิจัยทางด้านพลังงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยนเรศวรต่อไปอย่างมีคุณภาพในระดับนานาชาติ


== หลักสูตร ==
== หลักสูตร ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:23, 28 สิงหาคม 2551

วิทยาลัยพลังงานทดแทน
มหาวิทยาลัยนเรศวร
School of Renewable Energy Technology Naresuan University
ตราสัญลักษณ์วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
สถาปนา1 ตุลาคม พ.ศ. 2546
ผู้อำนวยการรศ.ดร.วัฒนพงษ์ รักษ์วิเชียร
ที่อยู่
มาสคอต
รังสีดวงอาทิตย์และตัวอักษรย่อ SERT
เว็บไซต์www.sert.nu.ac.th

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 โดยมีหน้าที่วิจัยและพัฒนาด้านพลังงานทดแทน โดยเน้นพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม ชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ และพลังงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นสถาบันการศึกษาและวิจัยขั้นสูงที่ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก และการทำวิจัยหลังปริญญาเอก

ประวัติ

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเริ่มมาจากการเป็นศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy Research and Training Center SERT) โดยได้ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2535

ได้ปรับสถานะของหน่วยงานเป็น วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 โดยวิทยาลัยพลังงานทดแท มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหน่วยงานซึ่งอยู่ภายใต้กำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการวิจัยและพัฒนาด้านพลังงานในรูปแบบบต่างๆ โดยเน้นพลังงานทดแทนต่างๆเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานจากน้ำ พลังงานลม พลังงานมวลชีวภาพ และพลังงานใต้พิภพ หรือพลังงานอื่นๆ เป็นศูนย์กลาง การบริการ

อีกทั้งวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในระดับปริญญาฝดทและเอก ทางด้านพลังงานทดแทน เพื่อผลิตและเพิ่มจำนวนนักวิทยาศาสตร์ในสาขาพลังงานต่อไปทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ยังเป็นหน่วยงานที่บริการข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน และนวัตกรรมพลังงานในการสนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย และการฝึกอบรมในรูปเครือข่ายความร่วมมือในระดับประเทศและนานาชาติ เป็นศูนย์ทดสอบทางด้านระบบและอุปกรณ์ด้านพลังงานต่างๆ ตามมาตรฐานสากล และร่วมประกอบการในธุรกิจด้านพลังงานในลักษณะเครือข่ายครบวงจรเทคโนโลยีที่มีความพร้อมและศักยภาพที่เหมาะสมกับความต้องการของประเทศและนานาชาติ โดยแสวงหาโอกาสที่จะนำเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้เพื่อประหยัดพลังงานและลดผลกระทบจากมลภาวะที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิล ซึ่งมีผลต่อการยกระดับแสวงหาโอกาสที่จะนำเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้เพื่อประหยัดพลังงาน และลดผลกระทบจากมลภาวะที่เกิดจากการใช้พลังงานฟอสซิลซึ่งมีผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและสภาวะแวดล้อมของการดำรงชีวิตของมนุษย์ ส่งเสริมและเผยแพร่ให้เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์์เป็นที่รู้จักในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไปอย่างสมบูรณ์

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวรประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานเพื่อการวิจัย การพัฒนา กาแหล่งเงินทุน แหล่งอุตสาหกรรมและการตลาดในรูปของเครือข่ายในเขตภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านพลังงานแสงอาทิตย์ สำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนในหลักสูตรการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน การวิจัยของอาจารย์ นิสิต นักวิจัยทางด้านพลังงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยนเรศวรต่อไปอย่างมีคุณภาพในระดับนานาชาติ

หลักสูตร

วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร เปิดดำเนินการสอนในระดับชั้นบัณฑิตศึกษาทั้งสิ้น 3 หลักสูตร ดังนี้

ปริญญาโท
ปริญญาเอก

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ไฟล์:Sert.gif
สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

สวนพลังงาน

ภายในวิทยาลัยพลังงานทดแทน มีสวนพลังงานตัวอย่างที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย[1] โดยเป็นแหล่งสาธิตการใช้งานจริงของระบบพลังงานทดแทน และมีศูนย์ธุรกิจที่เป็นแหล่งของความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ และเอกชน ในการดำเนินการส่งเสริมธุรกิจทางด้านพลังงานทดแทน ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเปิดวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 9.00 น. - 17.00 น.

อ้างอิง

  1. สวนพลังงาน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น